Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธา ขาวเธียรen_US
dc.contributor.authorธงชัย อัมพรพะงาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:10:56Z
dc.date.available2015-06-24T06:10:56Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42592
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรยังคงมีธาตุอาหารที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส จากการศึกษาที่ผ่านมา มีการบำบัดน้ำทิ้งฟาร์มสุกรให้มีคุณภาพน้ำทิ้งที่ดีขึ้น อีกทั้งยังได้ธาตุอาหารกลับมาใช้ประโยชน์ในการเกษตร โดยใช้กระบวนการตกตะกอนผลึกแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอนผลึกขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น พีเอชของน้ำ ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา อัตราส่วนโดยโมลระหว่างไอออนของแมกนีเซียม แอมโมเนียม และฟอสเฟต งานวิจัยนี้ทำการศึกษาผลกระทบของอัตราการเติมอากาศและระยะเวลากักเก็บน้ำโดยใช้ถังปฏิกิริยาแบบไหลต่อเนื่องในการทำลองบำบัดน้ำทิ้งฟาร์มสุกร ซึ่งอัตราการเติมอากาศมีผลต่อการกวนผสม ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ดีขึ้น และยังช่วยเพิ่มพีเอชน้ำด้วยกระบวนการเปลื้องอากาศได้อีกด้วย ผลการศึกษาพบว่าอัตราการเติมอากาศที่ 7.98 ลิตรต่อนาที เพียงพอต่อการเพิ่มพีเอชน้ำให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสมในการตกตะกอนผลึกแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟตโดยสามารถเพิ่มค่าพีเอชน้ำทิ้งก่อนเข้าถังปฏิกิริยาซึ่งมีค่าพีเอชอยู่ที่ 7.23 ให้มีค่า 8.43 – 8.71 และการเพิ่มระยะเวลากักเก็บน้ำให้นานขึ้นจะช่วยในการเพิ่มขนาดผลึกแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต และทำให้น้ำที่ผ่านการบำบัดมีคุณภาพน้ำที่ดีขึ้นอีกด้วย โดยประสิทธิภาพการบำบัดไนโตรเจน และฟอสฟอรัสของชุดการทดลองที่อัตราการเติมอากาศ 7.98 ลิตรต่อนาที ระยะเวลากักเก็บน้ำ 23 ชั่วโมง ประสิทธิภาพการบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสอยู่ที่ 24 และ 68 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe swine wastewater mostly contains nutrients which are necessary for plant growth. Previous research showed that magnesium ammonium phosphate (MAP) precipitation is one of the methods for recovering these nutrients. The important parameters for the precipitation include solution pH, hydraulic retention time and molar ratio of magnesium ammonium phosphate ions. This research used continuous flow reactor to treats the swine farm effluent for study the effects of aeration rate and hydraulic retention time for MAP precipitation , as aeration rate was added for solution mixing and raise solution pH by CO2 stripping processes. The results shown that 7.98 aeration rate was enough to raise solution pH to the optimum pH for MAP precipitation, as it can raised the solution pH from the effluent before through the reactor from 7.23 to 8.43 – 8.71 after the treatment process. As increasing hydraulic retention time can increased size of MAP crystal and it can treats the effluent to meet the swine effluent standard also, as aeration rate 7.98 litres per hour, hydraulic retention time 23 hours, the nitrogen and phosphorus removal was 24 and 68 percent, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.57-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การตกตะกอน
dc.subjectวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
dc.subjectSewage -- Purification
dc.subjectSewage -- Purification -- Precipitation
dc.subjectEnvironmental engineering
dc.titleการตกตะกอนผลึกแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟตจากน้ำทิ้งฟาร์มสุกรในถังปฏิกิริยาแบบไหลต่อเนื่องen_US
dc.title.alternativePRECIPITATION OF MAGNESIUM AMMONIUM PHOSPHATE FROM SWINE EFFLUENT BY CONTINUOUS FLOW REACTORen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsutha.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.57-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5370248521.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.