Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42610
Title: | การจัดเส้นทางและกำหนดระดับสินค้าคงคลังในการเดินเรือแบบหลายช่องบรรจุ |
Other Titles: | MULTI-COMPARTMENT VESSEL INVENTORY ROUTING PROBLEM |
Authors: | นวคุณ พิมพ์ทิมานนท์ |
Advisors: | มาโนช โลหเตปานนท์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | lmanoj@gmail.com |
Subjects: | การเดินเรือ การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการ -- การจำลองระบบ Navigation Inventory control Management -- Simulation methods |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาปัญหาการจัดเส้นทางการเดินทางร่วมกับการบริหารจัดการสินค้าคงคลังสำหรับเรือแบบหลายช่องบรรจุในการขนส่งสินค้าประเภทของเหลว ซึ่งเป็นการนำเอาปัญหาการจัดเส้นทางการเดินเรือและปัญหาการบริหารจัดการสินค้าคงคลังมาทำการวิเคราะห์ร่วมกัน และพิจารณาเพิ่มเติมในข้อจำกัดของเรือแบบหลายช่องบรรจุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะหาเส้นทางการเดินทาง เวลาในการขนส่งสินค้า และปริมาณสินค้าที่ขนส่ง ที่ก่อให้เกิดต้นทุนในการขนส่งและจัดเก็บสินค้าที่ต่ำที่สุด ซึ่งผู้วิจัยได้พิจารณาใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์รูปแบบเส้นทางในการจำลองปัญหา และทำการหาผลเฉลยโดยการประยุกต์ใช้วิธีแม่นตรงร่วมกับวิธีฮิวริสติกส์ ซึ่งผลที่ได้พบว่าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์รูปแบบเส้นทางที่นำเสนอสามารถจำลองรูปแบบของปัญหาได้อย่างใกล้เคียง และวิธีการหาผลเฉลยที่นำเสนอสามารถหาผลเฉลยได้ใกล้เคียงกับผลเฉลยที่ดีที่สุดโดยใช้เวลาในการแก้ปัญหาที่น้อยกว่า |
Other Abstract: | In this paper, we focus on multi-compartments inventory routing problem of liquid bulk products. This problem combines two main problems together, inventory management and routing, with the additional multi-compartments constraint of the vehicle. The objective is to find the way to analyze this problem for the minimization transportation cost. We consider to use mathematical model as path-based formulation to simulate this problem and solve it by combining exact and heuristic algorithm. The result of this paper show that the path-based formulation model that we formulate can represent the problem almost similarly and give the solution almost optimal with less time for this problem. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมโยธา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42610 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.86 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.86 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5370551621.pdf | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.