Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัคนางค์ มณีศรีen_US
dc.contributor.authorสลักจิต ตันติบุญทวีวัฒน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:05Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42624
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุของความตั้งใจลาออก โดยเปรียบเทียบอิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การที่ส่งอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออก โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในองค์การเอกชนต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 660 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดความเป็นส่วนหนึ่งในงาน, มาตรวัดความพึงพอใจในงาน, มาตรวัดความผูกพันกับองค์การ และมาตรวัดความตั้งใจลาออก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมลิสเรล (LISREL) ให้ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ โมเดลลิสเรลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การที่ส่งอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจลาออก พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 61.47, df = 50, p = .128, RMSEA = 0.019, RMR = 0.013, GFI = 0.99, AGFI = 0.971) โมเดลลิสเรลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจลาออก ได้ร้อยละ 58 ความผูกพันกับองค์การ และความพึงพอใจในงานส่งอิทธิพลทางลบอย่างมีนัยสำคัญต่อความตั้งใจลาออก (β = -0.67, β = -0.21) แต่ความเป็นส่วนหนึ่งในงานไม่ส่งอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจลาออกen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the validity of the causal model of intention to leave, and to compare the effects of job embeddedness, job satisfaction, and organizational commitment on intention to leave. Six hundred and sixty employees in the private sector completed a questionnaire measuring the job embeddedness, job satisfaction, organizational commitment, and intention to leave. LISREL analysis confirms that the LISREL model using job embeddedness, job satisfaction, and organizational commitment to predict intention to leave fit the data well (χ2 = 61.47, df = 50, p = .128, RMSEA = 0.019, RMR = 0.013, GFI = 0.99, AGFI = 0.971). The variables in the model accounted for 58% of variance of intention to leave. Organizational commitment and job satisfaction had negative significant direct effects on intention to leave (β = -0.67, β = -0.21, respectively). Job embeddedness had no effect on intention to leave.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.100-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการลาออก
dc.subjectความพอใจในการทำงาน
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยา
dc.subjectEmployees -- Resignation
dc.subjectJob satisfaction
dc.subjectOrganizational commitment
dc.subjectWork -- Psychological aspects
dc.titleอิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การต่อความตั้งใจลาออกen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF JOB EMBEDDEDNESS, JOB SATISFACTION, AND ORGANIZATIONAL COMMITMENT ON INTENTION TO LEAVEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkakanang.M@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.100-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5378106538.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.