Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์en_US
dc.contributor.advisorกุลยา พิสิษฐ์สังฆการen_US
dc.contributor.authorวัชราวดี บุญสร้างสมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:06Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42630
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเครียดและความสุขในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยมีความเมตตากรุณาต่อตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย มาตรวัดการรับรู้ความเครียด มาตรวัดความเมตตากรุณาต่อตนเอง และมาตรวัดความสุข วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ และวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่านตามวิธีการของ Sobel ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความเครียดและความเมตตากรุณาต่อตนเอง ร่วมกันทำนายความแปรปรวนของความสุขได้ร้อยละ 54.7 โดยความเมตตากรุณาต่อตนเองทำนายความสุขได้ดีกว่าการรับรู้ความเครียด (β = .43 และ β = -.39, p < .01 ตามลำดับ) เมื่อวิเคราะห์อิทธิพลของความเมตตากรุณาต่อตนเองในฐานะตัวแปรส่งผ่านพบว่า ความเมตตากรุณาต่อตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านบางส่วนระหว่างการรับรู้ความเครียดกับความสุข โดยการรับรู้ความเครียดส่งผลทางตรงต่อความสุข (β = -.39, p < .01) และส่งผลทางอ้อมผ่านความเมตตากรุณาต่อตนเองไปยังความสุข (β = -.28, p < .01) ทั้งนี้การรับรู้ความเครียดส่งผลโดยรวมต่อความสุข (β = -.67, p < .01) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความเมตตากรุณาต่อตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเครียดและความสุขในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine the relationship between perceived stress and happiness of university students with self-compassion as a mediator. Participants were 400 university students. Instruments were Perceived Stress Scale, Self-compassion Scale and Oxford Happiness Questionnaire. Data were analyzed by using Pearson’s correlation, multiple regressions, and testing for a multi-mediating role by Sobel method. Results showed that the perceived stress and self-compassion predicted happiness 54.7 percent of the total variance of happiness. The best predictor was self-compassion (β = .43, p < .01), followed by perceived stress (β = -.39, p < .01). Self-compassion was a partial mediator between perceived stress and happiness. In addition, perceived stress has a direct effect on happiness (β = -.39, p < .01), an indirect effect through self-compassion (β = -.28, p < .01), and a total effect to happiness (β = -.67, p < .01). In conclusion, self-compassion was a mediator for the relationship between perceived stress and happiness of university students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.102-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)
dc.subjectความสุข
dc.subjectจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectStress (Psychology)
dc.subjectHappiness
dc.subjectCounseling psychology
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเครียดและความสุขในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยมีความเมตตากรุณาต่อตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeTHE RELATIONSHIP BETWEEN PERCEIVED STRESS AND HAPPINESS OF UNIVERSITY STUDENTS WITH SELF-COMPASSION AS A MEDIATORen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoratuicomepee@gmail.comen_US
dc.email.advisorkullaya@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.102-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5378338838.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.