Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมร เพชรสม-
dc.contributor.authorวิชชา พิชัยณรงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2007-10-02T09:30:25Z-
dc.date.available2007-10-02T09:30:25Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741724764-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4270-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการแยกลิกนินออกจากน้ำดำที่ได้จากกระบวนการทำเยื่อกระดาษจากไม้ยูคาลิปตัส โดยการตกตะกอนด้วยกรดซัลฟิวริก ในการศึกษานี้ได้ใช้วิธีการตกตะกอน 2 ขั้นตอน โดยขั้นแรกเป็นการตกตะกอนที่ pH 6 เพื่อกำจัดสารที่เกิดจากการย่อยสลายโพลีแซคคาไรด์ เพื่อไม่ให้ปนเปื้อนกับตะกอนลิกนินที่จะแยกในขั้นต่อไปหลังจากนั้นปรับ pH เป็น 5, 4, 3, 2 และ 1 ตามลำดับเพื่อตกตะกอนลิกนิน น้ำดำหลังแยกตะกอนลิกนินออก นำมาวิเคราะห์ค่า COD และ สี ส่วนตะกอนลิกนินนำมาวิเคราะห์น้ำหนักโมเลกุลและโครงสร้างโดย GPC, [superscript 13]C-NMR และ IR ผลการศึกษาพบว่าการตกตะกอนลิกนินในน้ำดำมีแนวโน้มการตกตะกอนเพิ่มมากขึ้นเมื่อค่า pHลดลง แต่ที่ pH 3, 2 และ 1 ตะกอนลิกนินที่ได้มีค่าใกล้เคียงกัน ดังนั้นที่ pH 3 จึงเหมาะสมกับการตกตะกอนลิกนินในน้ำดำ โดยที่ pH 3 สามารถแยกลิกนินได้ 93.51% และค่า COD และ สีของน้ำหลังแยกตะกอนลิกนิน ลดลง 80.45 % และ 98.20 % ตามลำดับ ส่วนตะกอนลิกนินที่แยกได้มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยระหว่าง 1,348-1,540 ดัลตันen
dc.description.abstractalternativeThe acid precipitation of lignin from Eucalyptus pulping black liquor was studied. A method of two-step precipitation was proposed in this study. Prior to lignin precipitation, the polysacharide degradation products were removed from black liquor by centrifuge after precipitation at pH 6. Then the pH of black liquor was reduced to pH 5,4,3,2 and 1, respectively, with sulfuric acid in order to precipitate lignin. The lignin fraction were characterized by GPC, [superscript 13]C-NMR and IR. The results showed that more lignin precipitate when pH was reduced. At optimum pH 3, about 93.51% of the lignin was recovered.The COD and color were reduced by 80.45% and 98.20 %, respectively. The lignin fraction had molecular average weight between 1348 1540 daltonen
dc.format.extent2201062 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัดen
dc.subjectอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษen
dc.titleการแยกลิกนินออกจากน้ำดำในกระบวนการทำเยื่อกระดาษจากยูคาลิปตัสen
dc.title.alternativeSeparation of lignin from eucalyptus pulping black liquoren
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAmorn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Witchar.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.