Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติen_US
dc.contributor.advisorปรัชญนันท์ นิลสุขen_US
dc.contributor.authorสุปรีย์ บูรณะกนิษฐen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:21:04Z
dc.date.available2015-06-24T06:21:04Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42761
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียนของการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่ต่างกันและเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่แตกต่างกันในการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรียนและหลังเรียนของการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่ต่างกันและเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่แตกต่างกันในการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 23 คน ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ที่เรียนวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ แบ่งเป็นกลุ่มที่เรียนด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพแบบยืดหยุ่น จำนวน 11 คน และกลุ่มที่เรียนด้วยการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพแบบคงที่ จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบความรู้พื้นฐานก่อนเรียนในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ 2) แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ 3) แบบทดสอบการแก้ปัญหาในวิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์ 4) แบบประเมินการทำโครงงานหุ่นยนต์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. นักเรียนทั้งสองกลุ่มที่เรียนด้วยการเสริมศักยภาพแบบยืดหยุ่นและแบบคงที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนด้วยการเสริมศักยภาพแบบยืดหยุ่นและแบบคงที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนทั้งสองกลุ่มที่เรียนด้วยการเสริมศักยภาพแบบยืดหยุ่นและแบบคงที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนด้วยการเสริมศักยภาพแบบยืดหยุ่นและแบบคงที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to compare pre and post-test of analytical thinking abilities in programming robots within and between two of technology-enhanced scaffolding in project-based learning of lower secondary school students and 2) to compare pre and post-test of problem solving ability in programming robots within and between two of technology-enhanced scaffolding in project-based learning of lower secondary school students. The samples were 23 seventh grade students enrolled in robot programming at Chulalongkorn University Demonstration Secondary School. The samples were assigned into 2 groups; the first group studied with hard scaffolding and the second group studied with soft scaffolding. The research instruments were 1) placement test, 2) analytical thinking skill test, 3) problem solving skill test, and 4) robot project evaluation form. An independent-samples t-test was conducted to compare two types of technology enhanced scaffolding. The findings of this study were as follows: 1. The students who studied with hard and soft scaffolding had post-test score of analytical ability higher than pre-test score at the statistically significance at .05 level. There was no statistically significant difference between analytical ability of students who studied with different types of technology enhanced scaffolding at the .05 level. 2. The students who studied with hard and soft scaffolding had post-test score of problem solving ability higher than pre-test score at .05 level. There was no statistically significant difference between problem-solving ability of students who studied with different types of technology enhanced scaffolding at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.234-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดและการคิด
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษา
dc.subjectการศึกษากับเทคโนโลยี
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.subjectThought and thinking
dc.subjectEducational tests and measurements
dc.titleผลของการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่แตกต่างกันในการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาในการโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF DIFFERENT TYPES OF TECHNOLOGY-ENHANCED SCAFFOLDING IN PROJECT-BASED LEARNING UPON ANALYTICAL THINKING AND PROBLEM SOLVING ABILITIES IN PROGRAMMING ROBOTS OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpraweenya.s@chula.ac.then_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูลen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.234-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5184265327.pdf6.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.