Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorCarina Chotiraween_US
dc.contributor.advisorArthid Sheravanichkulen_US
dc.contributor.authorYuxin Jiangen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Artsen_US
dc.coverage.spatialThailand
dc.date.accessioned2015-06-24T06:21:45Z
dc.date.available2015-06-24T06:21:45Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42832
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractThis thesis aims to investigate the motivations of Chinese tourists’ religious tourism in Thailand, as well as the characteristics of behavior of Chinese tourists in religious tourism. This study chooses quantitative research and qualitative research approaches. It is through questionnaires and interviews to collect quantitative and qualitative data. Conclusions of this study show that the motivations of Chinese tourists’ visiting the three temples include understanding Thailand's religion and culture, appreciating the religious landscape in Thailand, appealing for good luck, relaxing and relieving pressure. Chinese tourists’ motivations of visiting the three shrines are firstly appealing for good luck, followed by understanding Thailand's religion and culture, appreciating the religious landscape in Thailand, relaxing and relieving pressure. Findings of this thesis also showed that part of Chinese tourists have high quality and good educational background. They are more interested in Thai culture, Buddhist culture, history and better comply with local cultural practices and norms. Some tourists did not obey the local tourist habits, such as wearing sleeveless clothing, shoes during the process of visiting temples and worshiping the gods. Besides, Chinese tourists like shopping and have strong spending power, but with the introduction of China’s new tourism law, as well as the cancel of zero fee tour, the tourism behavior of Chinese tourists may change, because they have more time for sightseeing and understanding local culture, rather than shopping. Finally, this dissertation brings forward recommendations on the sustainable development of religious tourism in Thailand. Keywords: Thailand; China; Bangkok; religious tourism; temple; shrine; tourism motivation; tourism behavior.en_US
dc.description.abstractalternativeจุดมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เพื่อค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวจีนในประเทศไทย เช่นเดียวกับลักษณะพฤติกรรมการท่องเที่ยว ของนักท่องเที่ยวชาวจีน ในการท่องเที่ยวเชิงศาสนา การวิจัยนี้ได้กำหนดแนวทางการวิจัยเป็น การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผ่านการทำแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ เพื่อรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ บทสรุปของการวิจัยนี้แสดงถึง แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ได้ไปเยี่ยมชมวัดวาอารามทั้งหมด 3 แห่ง รวมไปถึง ความเข้าใจในศาสนา และวัฒนธรรมของประเทศไทย, การเห็นคุณค่าของภูมิทัศน์ทางศาสนาในประเทศไทย การร้องขอเพื่อให้ประสบโชคดี, การผ่อนคลาย, และการปลดปล่อยจากแรงกดดัน มูลเหตุจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวจีน สำหรับการมาเที่ยวสถานที่ศักดิ์ทั้ง 3 ที่ ประการแรกคือ การมาขอพรเพื่อโชคลาภ ตามมาด้วย ความเข้าใจทางด้านศาสนา และวัฒนธรรม ตามมาด้วย ชื่นชมภูมิทัศน์ทางศาสนาในประเทศไทย, ผ่อนคลาย, และ ปล่อยวาง ผลลัพธ์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ยังแสดงให้เห็นว่า นักท่องเที่ยวชาวจีนส่วนหนึ่งมีเบื้องหลังการศึกษาที่ดี และมีคุณภาพ พวกเขาสนใจในวัฒนธรรมไทย พุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ และเลือกที่จะปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องถิ่น นักท่องเที่ยวบางคนไม่ยอมเคารพข้อปฏิบัติทางศาสนา อย่างเช่น การนุ่งกางเกงขาสั้น, ใส่รองเท้าแตะเข้าไปในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์, และ เคารพบูชาพระเจ้า นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวชาวจีนยังชอบจับจ่ายซื้อของ และมีพลังการซื้อที่มหาศาล แต่ด้วยกฎหมายท่องเที่ยวที่ออกมาใหม่ของจีน คือ การยกเลิกทัวร์แบบไม่เสียค่า ธรรมเนียม ลักษณะพฤติกรรมการท่องเที่ยวของชาวจีนอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง เพราะพวกเขาจะมีเวลาในการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ และเข้าใจวัฒนธรรมมากขึ้น กว่าการจับจ่ายซื้อของ สุดท้าย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ให้คำแนะนำเพิ่มเติมในเรื่องการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ของการท่องเที่ยวเชิงศาสนาในประประเทศไทยอีกด้วยen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.302-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBuddhism -- Thailand
dc.subjectCulture and tourism
dc.subjectพุทธศาสนา -- ไทย
dc.subjectนักท่องเที่ยวต่างชาติ
dc.subjectวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
dc.titleTHAI BUDDHISM AND RELIGIOUS EXPERIENCE OF MAINLAND CHINESE TOURISTS IN PRESENT-DAY BANGKOKen_US
dc.title.alternativeพุทธศาสนาแบบไทยกับประสบการณ์ทางศาสนาของนักท่องเที่ยวจีนเเผ่นดินใหญ่ในกรุงเทพมหานครในปัจจุบันen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineThai Studiesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorcarina.c@chula.ac.then_US
dc.email.advisorarthid.s@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.302-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5380351022.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.