Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42896
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธา ขาวเธียรen_US
dc.contributor.authorศิริณี เพ็งปรีชาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:18Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:18Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42896
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractปัจจุบันน้ำมันพืชได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในการทดแทนพลังงานเดิมที่มีอยู่ เรียกว่า พลังงานทางเลือก เนื่องจากน้ำมันพืชส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และในอนาคตการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเนื่องจากสามารถลดการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศ ส่งเสริมพลังงานสะอาด และนำไปสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน แต่เนื่องด้วยน้ำมันพืชมีความหนืดสูงจึงจำเป็นต้องลดความหนืดก่อนนำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลด้วยกระบวนการไมโครอิมัลชัน ซึ่งกระบวนการไมโครอิมัลชันเป็นการผสมระหว่างน้ำมันพืช สารลดแรงตึงผิว และเอทานอล เพื่อให้เกิดความมีเสถียรภาพเป็นเนื้อเดียวกัน ดังนั้นการศึกษางานวิจัยนี้นำกระบวนการไมโครอิมัลชันมาใช้เพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยใช้ชนิดน้ำมันพืช (น้ำมันปาล์มใช้แล้วที่บำบัดทางกายภาพ น้ำมันปาล์ม และน้ำมันถั่วเหลือง) ผสมดีเซลหรือไบโอดีเซล ที่อัตราส่วน 50:50 ที่ปริมาตร 75 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สารลดแรงตึงผิว (ดีไฮดอลเอทิลีนออกไซด์1 ดีไฮดอลเอทิลีนออกไซด์5 โอเลอิลแอลกอฮอล์ และเมทิลโอลิเอต) ผสมสารลดแรงตึงผิวร่วม (ออคทานอล และเอทิลีนไกลคอลบิวทิลอีเทอร์) ที่อัตราส่วน 1:8 ที่ปริมาตร 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และเอทานอลเกรดการค้าความบริสุทธิ์ 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ปริมาตร 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงชีวภาพที่เกิดเป็นสารละลายเนื้อเดียวกัน ซึ่งจะได้เชื้อเพลิงชีวภาพไมโครอิมัลชันที่นำมาศึกษาคุณสมบัติและเปรียบเทียบตามเกณฑ์มาตรฐาน ASTM (American Standard Testing Method) ของเชื้อเพลิงดีเซลประเภท 2 และเชื้อเพลิงไบโอดีเซล ผลการทดลองพบว่าเชื้อเพลิงชีวภาพไมโครอิมัลชันอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของเชื้อเพลิงไบโอดีเซล และจากการทดสอบการปล่อยก๊าซไอเสียของเครื่องยนต์ พบว่า ชนิดของน้ำมันพืช คือ น้ำมันปาล์มใช้แล้วที่ผ่านการบำบัดทางกายภาพมีการปล่อยก๊าซไอเสียน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันปาล์ม และน้ำมันถั่วเหลือง เพราะฉะนั้นการนำน้ำมันพืชมาผ่านกระบวนการไมโครอิมัลชันถือเป็นเทคนิคหนึ่งเพื่อใช้ในการผลิตน้ำมันทางเลือกen_US
dc.description.abstractalternativeCurrently, vegetable oils are of interest as a bio-based feedstock in the production of environmentally friendly alternative fuel due to vegetable oil has less effects on the environment and the future use of biofuels has been increasing in popularity. The high viscosity of vegetable oils and that its viscosity is necessary to be reduced before using in engines. Microemulsification is an emerging technology to formulate mixtures of vegetable oil, surfactant and ethanol to thermodynamically stable and homogeneous. Thus, this research studied the microemulsification used to produce biofuels. Three components are vegetable oil (used palm oil, palm oil and soybean oil) blend with diesel or biodiesel at a ratio of 50:50% (v/v) with 75 percent by weight, surfactant (dehydol LS1, dehydol LS5, oleyl alcohol and methyl oleate) mixed with cosurfactant (octanol and ethylene glycol butyl ether) at a ratio of 1:8 with 5 percent by weight, and ethanol purity commercial grade volume of 20 percent by weight. Microemulsion biofuels used to study for their properties and analyzed by standard ASTM of diesel no.2 and biodiesel. The results show that the microemulsion biofuels properties were met the biodiesel fuel standard. For engine exhaust emission test, found that used palm oil with less exhaust emissions compared to palm oil and soybean oil. Therefore, vegetable oil by microemulsion process can be a promising technique for producing an alternative fuel.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.329-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันปาล์ม
dc.subjectน้ำมันปาล์ม -- การนำกลับมาใช้ใหม่
dc.subjectพลังงานชีวมวล
dc.subjectPalm oil
dc.subjectPalm oil -- Recycling (Waste, etc.)
dc.subjectBiomass energy
dc.titleผลของลักษณะสมบัติของน้ำมันพืชต่อลักษณะสมบัติของเชื้อเพลิงชีวภาพที่เตรียมด้วยวิธีการไมโครอิมัลชันโดยใช้สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF VEGETABLE OIL PROPERTIES OF THE BIOFUEL, PREPARED BY MICROEMULSION BASE USING NONIONIC SURFACTANTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsutha.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.329-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470391621.pdf9.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.