Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระวัฒน์ อุทัยร้ตน์-
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.authorรุจา รอดเข็ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-21T12:05:45Z-
dc.date.available2006-06-21T12:05:45Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745311928-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/428-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัยในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขประยุกต์ ตามแนวทางการประเมินองค์การแบบสมดุล และศึกษาลักษณะความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรต่างๆ กับประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีขั้นตอนการวิจัย 2 ขั้นตอนคือ การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การ และการตรวจสอบรูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบประสิทธิผลองค์การ 4 ด้านคือ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ตัวแรปสาเหตุ 11 ตัว คือ โครงสร้างองค์การ เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมภายนอก วัฒนธรรมองค์การ บรรยากาศองค์การ ความผูกพันต่อองค์การ การจูงใจ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การติดต่อสื่อสาร ภาวะผู้นำ และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2. รูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประยุกต์ตามแนวทางการประเมินองค์การแบบสมดุล เป็นรูปแบบที่ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่า เหมาะสมและมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในระดับมากที่สุด 3. รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลองค์การ ของวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ปรับแล้ว มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ค่าดัชนี้วัดความกลมกลืน และค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว มีค่าเท่ากัย .99 และ .98 ตามลำดับ 4. ตัวแปรสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เรียงตามน้ำหนักอิทธิพลรวมดังนี้ ภาวะผู้นำ บรรยากาศองค์การ การติดต่อสื่อสาร วัฒนธรรมองค์การ การบริหารเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมภายนอก ความผูกพันต่อองค์การและการจูงใจen
dc.description.abstractalternativeTo develop the organizational effectiveness evaluation model for colleges under the Ministry of Public Health by the balanced scorecard approach and to study the characteristics of linear sturcture between some variables and organizational effectiveness of colleges under the Ministry of Public Health. The research procedures consisted of two steps 1) The development of an evaluation model for organizational effectiveness components. 2) The validation of organizational effectiveness evaluation model. The research results can be summarized as follows. 1) The developed model consisted of four organizational effectiveness components: financial, customer, internal process, and learning and growth. Eleven causal variables were organizational structure, technology, external environment, organizational culture, organizational climate, organizational attachment, motivation, strategic management, communication, leadership, and change management. 2) The experts agreed that the developed model was suitable and useful and had practical applications at the highest level. 3) The adjusted an organizational effectiveness evaluation model for colleges under the Ministry of Public Health was consistent with the empirical data with GFI = .99, AGFI = .98 4) The causal variables that had total effect on organizational effectiveness of colleges under the Ministry of Public Health were: leadership, organizational climate, communication, organizational culture, strategic management, technology, external environment, organizational attachment, and motivation, respectively.en
dc.format.extent3292311 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.712-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประสิทธิผลองค์การ--การประเมินen
dc.subjectสมรรถภาพ--การวัดen
dc.subjectการพยาบาล--การศึกษาและการสอนen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การของวิทยาลัย ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประยุกต์ตามแนวทางการประเมินองค์การแบบสมดุลen
dc.title.alternativeThe development of an evaluation model for the organizational effectiveness of colleges under the Ministry of Public Health by the balanced scorecard approachen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาเอกen
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiridej.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.712-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruja.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.