Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุลen_US
dc.contributor.authorอนุธิดา ฉิมทับen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:23Z-
dc.date.available2015-06-24T06:22:23Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42904-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractข้อมูลสัดส่วนร่างกายมีความจำเป็นต่อการออกแบบสถานีงาน การเก็บข้อมูลสัดส่วนร่างกาย ด้วยวิธีการภาพถ่ายเป็นแนวทางหนึ่งที่รวดเร็วกว่าการใช้ชุดเครื่องมือวัดขนาดสัดส่วนของร่างกายพื้นฐาน เหมาะกับการเก็บข้อมูลประชากรที่มีจำนวนมาก หรือไม่สามารถใช้เวลาในการวัดได้นาน นอกจากนี้ยังสะดวกต่อการใช้งานและต้นทุนต่ำ แต่ข้อจำกัดของวิธีการนี้ คือ ต้องใช้พื้นที่ในการวางกล้องถ่ายภาพ มากกว่า 7 เมตร จากการศึกษาที่ผ่านมา ระบบการวัดสัดส่วนด้วยภาพถ่าย ได้ทำให้เกิดความเคลื่อนในการวัดส่วนสูงของร่างกาย จากร้อยละ 0.32 เป็นร้อยละ 1.5 ที่ตำแหน่งระยะห่างการวางกล้อง 7 เมตร และระยะห่าง 2 เมตร ตามลำดับ ซึ่งเกิดจากปัจจัยของร่างกายมนุษย์ที่มีส่วนโค้งและความหนา นอกจากนี้ยังมีปัจจัยสภาพแวดล้อมของสถานที่ถ่ายภาพ ชุดที่สวมใส่ของผู้ถูกวัด และการติดตั้งอุปกรณ์ถ่ายภาพ ดังนั้นจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อพัฒนาระบบการวัดสัดส่วนร่างกายด้วยเทคนิคประมวลผลภาพถ่ายดิจิตอล 2 มิติ ในระยะใกล้ให้มีความแม่นยำมากขึ้น โดยจะสร้างระบบการวัดสัดส่วนใหม่ เริ่มจากการติดตั้งกล้องถ่ายภาพดิจิตอลและอุปกรณ์อ้างอิง ทำการถ่ายภาพที่ระยะวางกล้อง 2-4 เมตร โดยวัดสัดส่วนร่างกายจำนวน 12 สัดส่วน จากนั้นหารูปแบบทางคณิตศาสตร์ของความคลาดเคลื่อนในการวัดขนาดร่างกายจากหุ่นจำลองคล้ายมนุษย์ก่อน และยืนยันผลของรูปแบบทางคณิตศาสตร์ด้วยอาสาสมัครจำนวน 30 คน ผลที่ได้คือสมการรูปแบบทางคณิตศาสตร์สามารถลดความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 5.7% จาก 6 วัดส่วน สุดท้ายจัดทำคู่มือการวัดสัดส่วนร่างกายมนุษย์ด้วยเทคนิคประมวลผลภาพถ่ายดิจิตอล 2 มิติ โดยถ่ายภาพที่ระยะใกล้en_US
dc.description.abstractalternativeAnthropometry is essential for every workstation design. Anthropometric data are collected by using photographs, that’s more suitable for collecting a lot of people data or in case of time limit, is faster than using an Anthropometric caliper set. Moreover, it’s easy-to-use and low cost but it requires at least 7 meters in distance. From this research, using photographs for measuring anthropometry would show the deviation of height as 0.32% at 7 meters from the camera and 1.5% at 2 meters. Because of human anatomy (that has curve and thickness), outfit, environment and camera setup are the causes of deviation. Due to past research, the purpose of this research is to develop the anthropometric technique with more accurate in short distance 2D photography. By creating a new measurement system, starting from setup a digital camera with related devices. Then measures 12 parts of human body at 2-4 meters. After that, find a mathematic theory of deviation between the digital camera and actual human body model. And then, confirms the mathematical results from 30 participants. The last result is mathematic equation that helps reducing 5.7% from 6 measurement parts. Finally, the manual of anthropometric technique with short distance 2D photography was created.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.513-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการถ่ายภาพ -- เทคนิคดิจิทัล-
dc.subjectขนาดร่างกาย-
dc.titleเทคนิคการวัดสัดส่วนร่างกายมนุษย์โดยถ่ายดิจิตอล 2 มิติ ที่ระยะใกล้en_US
dc.title.alternativeANTHROPOMETRIC TECHNIQUE WITH SHORT DISTANCE 2-D PHOTOGRAPHYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorphairoat@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.513-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470446521.pdf7.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.