Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพล ดุรงค์วัฒนาen_US
dc.contributor.authorวิศรุต ดิฐสถาพรเจริญen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:55Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:55Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42965
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เปรียบเทียบวิธีการประมาณพารามิเตอร์ในตัวแบบเชิงเส้นอย่างง่าย ระหว่างวิธีกำลังสองน้อยสุด วิธีเพรส-วินส์เทน และวิธีการปรับค่าเอนเอียงด้วยวิธีบูทสแตรป เมื่อความคลาดเคลื่อนในตัวแบบเกิดอัตตสัมพันธ์อันดับ 1 (AR1) กระทำภายใต้เงื่อนไข ค่าอัตตสัมพันธ์ที่ระดับ 0.1,0.2,0.3,0.4,0.5 รูปแบบตัวแปรอิสระ 3 รูปแบบ คือ รูปแบบความสัมพันธ์เชิงเส้นกับเวลา ( = t เมื่อ t = 1, 2, .., n) รูปแบบอัตตสัมพันธ์อันดับ 1 (DGP1 : ) รูปแบบอัตตสัมพันธ์อันดับหนึ่งและมีความสัมพันธ์เชิงเส้นกับเวลา ( DGP2 : ) และข้อมูลจริงของมูลค่าการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ(X) กัผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Y) ระหว่างปี 1950-1969 ของประเทศไทยกำหนดพารามิเตอร์ในตัวแบบถดถอยคือ , ขนาดตัวอย่างที่ศึกษาคือ ตัวอย่างขนาดเล็ก(15,20) ขนาดกลาง(50,60),ขนาดใหญ่(90,100)กำหนดจำนวนตัวอย่างบูทสแตรปที่สุ่มซ้ำจำนวน 500ชุด เพื่อหาค่าความเอนเอียงของตัวประมาณพารามิเตอร์ กำหนดจำนวนตัวอย่างบูทสแตรปที่สุ่มซ้ำจำนวน ชุด เพื่อหาการแจกแจงตัวประมาณพารามิเตอร์ที่แก้ไขความเอนเอียงแล้วและนำมาสร้างช่วงความเชื่อมั่นพารามิเตอร์ กำหนดข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้จากการจำลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลและทำการทดลองซ้ำกัน 2000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์เพื่อหาระดับความเชื่อมั่นของค่าประมาณช่วงความเชื่อมั่นพารามิเตอร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 2) ระดับความเชื่อมั่นของค่าประมาณช่วงความเชื่อมั่นพารามิเตอร์มีค่าสูงขึ้นเมื่ออค่าอัตตสัมพันธ์ของความคลาดเคลื่อนสูงขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate and compare parameter estimation Bootstrap Bias-corrected Parameter Estimation, OLS Estimation and prais-winsten Estimation are considerate in this study. The confidence coefficient is to criteria using comparison. The comparison are done under several situations which are as follows: The levels autocorrelation of residual are 0.1,0.2,0.3,0.4,0.5, the independent valriable is 1) = t when t=1,2,..,n 2) 3) DGP2: the sample sizes n simulated are 15,20,50,60,90,100. Thenumber of Monte Carlo trials is set to 1000; and the numbers of bootstrap replicationsB1 and B2 are set to 2000The levels of significance is 0.05 parameter is , . The results of this study are 1) Bootstrapping confidence interval can control probability of type I error in all situations 2) confidence limit of confidence interval is high when the autocorrelation of residual is high and confidence limit is low when the autocorrelation of residual is low.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.407-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประมาณค่าพารามิเตอร์
dc.subjectสถิติวิเคราะห์
dc.subjectParameter estimation
dc.titleการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่มีการปรับค่าเอนเอียงด้วยวิธีบูทสแตรปสำหรับตัวแบบถดถอยเมื่อความคลาดเคลื่อนมีอัตตสัมพันธ์อันดับหนึ่งen_US
dc.title.alternativeBootstrap Bias-corrected Parameter Estimation for Regression Model with first-order autocorrelated erroren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsupol@cbs.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.407-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5481687226.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.