Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบรรเจิด จงสมจิตรen_US
dc.contributor.authorภัทรพร ดุสิตสถิตไกวัลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:23:46Z
dc.date.available2015-06-24T06:23:46Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43060
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของแลนทานัมในตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาซิลิกาต่อปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอล โดยศึกษาปริมาณแลนทานัม 0.5 – 3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ซึ่งเตรียมโดยวิธีเคลือบฝังแบบเปียก ตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาซิลิกาที่เติมแลนทานัมถูกนำมาวิเคราห์คุณลักษณะด้วยการกระเจิงรังสีเอ็กซ์ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด อุปกรณ์วิเคราะห์ธาตุเชิงพลังงาน การคายแอมโมเนียด้วยการเพิ่มอุณหภูมิแบบตั้งโปรแกรม เครื่องวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของสารโดยอาศัยคุณสมบัติทางความร้อนและถูกนำมาศึกษาความว่องไวในปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอลในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่ที่อุณหภูมิ 200 – 400 องศาเซลเซียส โดยความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาถูกแสดงโดยเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของเอทานอลและค่าการเลือกเกิดของผลิตภัณฑ์ โดยตัวเร่งปฏิกิริยาที่น่าสนใจถูกนำมาศึกษาเสถียรภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอ ทานอล จากการศึกษาคุณลักษณะพบว่าแลนทานัมมีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอและไม่ส่งผลกระทบต่อ โครงสร้างภายนอกของตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาซิลิกา ปริมาณกรดอ่อนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่กรดปานกลาง ถึงมากลดลงหลังจากเติมแลนทานัม ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณไดเอทิลอีเทอร์ที่เพิ่มขึ้นและปริมาณเอทิลีนที่ลดลง เมื่อทำการศึกษาเสถียรภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาไม่มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาผ่านไป 19 ชั่วโมงและเมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยาหลังการใช้งานมาวิเคราะห์ปริมาณคาร์บอนพบว่าการเติมแลน ทานัมส่งผลให้ปริมาณคาร์บอนที่เกาะที่พื้นผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาลดลงen_US
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the effect of lanthanum (La) modified alumina-silica catalyst to ethanol dehydration by varying amount of La in catalysts from 0.5 to 3 wt% that was prepared by wet impregnation method. La-doped alumina-silica catalysts were characterized by XRD, SEM, EDX, NH3-TPD, TGA methods and were studied catalytic activity in ethanol dehydration during 200 – 400 ◦C with fixed bed reactor. Activity was represented through with ethanol conversion and product selectivity. A remarkable catalyst was tested about stability. From a result, it was found that La was highly dispersed form without basic phase structure transformation. The weak acid was increased, whereas the medium-strong acid site tended to decline after addition. Weak and medium-strong acid sites correlated with selectivity of products that was explained that diethyl ether was raised while ethylene became lower. From stability of catalyst, no transformation about activity was found for 19 hours. The coke deposition on a surface of catalyst reversed to the amount of La loading.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.525-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเอทานอล
dc.subjectปฏิกิริยาเคมี
dc.subjectแลนทานัม
dc.subjectEthanol
dc.subjectChemical reactions
dc.titleปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอลโดยตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาซิลิกาที่ปรับปรุงด้วยแลนทานัมen_US
dc.title.alternativeETHANOL DEHYDRATION OVER LA-MODIFIED ALUMINA-SILICA CATALYSTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBunjerd.J@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.525-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570932221.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.