Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์en_US
dc.contributor.authorคชา อุดมตะคุen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:01Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:01Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43090
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการฝึกยางยืดสองรูปแบบที่มีผลต่อความเร็วในการเตะขาของนักกีฬาเซปักตะกร้อเยาวชนชาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการการศึกษาครั้งนี้ คือ นักกีฬาเซปักตะกร้อ จำนวน 30 คนทำการแบ่งกลุ่มโดยสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลาก 2 กลุ่ม โดยมีกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน โดยดำเนินการฝึกคือ กลุ่มทดลองที่ 1 ใช้แรงต้านของยางยืดในการฝึก ส่วนกลุ่มตัวอย่างทดลองที่ 2 ใช้แรงเสริม(แรงดึง)ของยางยืดในการฝึก ใช้เวลาฝึก 2 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลาทั้งหมด 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบความแข็งแรงขา (แรงเหยียดขา) และความเร็วในการเตะ ก่อนการทดลอง หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 นำผลการทดสอบที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติหาค่า เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า “ที” วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ถ้าพบความแตกต่างให้เปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดนวิธีการทดสอบของ แอล เอส ดี ผลการวิจัยพบว่า 1. ความแข็งแรงขา (แรงเหยียดขา) เฉลี่ยภายในกลุ่ม ก่อนการทดลอง หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มที่ใช้แรงต้าน และกลุ่มที่ใช้แรงเสริม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กลุ่มที่ใช้แรงต้านมีความแข็งแรงขาเพิ่มขึ้น 7.2 กิโลกรัม และกลุ่มที่ใช้แรงเสริมความแข็งแรงขาเพิ่มขึ้น 7 กิโลกรัม 2. ความเร็วในการเตะขาข้างที่ไม่ถนัดและขาข้างที่ถนัดเฉลี่ยภายในกลุ่มที่ใช้แรงต้าน ก่อนการทดลอง หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่กลุ่มที่ใช้แรงเสริมมีความเร็วการเตะเพิ่มขึ้น(เวลาลดลง) แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ยของความเร็วในการเตะของขาข้างที่ไม่ถนัดของกลุ่มที่ใช้แรงเสริม หลังการฝึก 8 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยความเปลี่ยนแปลง 0.021 วินาที และค่าเฉลี่ยความเร็วในการเตะของขาข้างที่ถนัดของกลุ่มที่ใช้แรงเสริม หลังการฝึก 8 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยความเปลี่ยนแปลง 0.023 วินาทีen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to comparison of two different elastic training on velocity of kick in young male sepaktakraw athletes. thirty sepaktakraw players from suphanburi sports school . This subject was assigned into two groups of 15 players by simple random sampling . Group 1 trained by resistance elastic band , and Group 2 trained by recoil elastic band . both group trained two days a week period of eight weeks. The data of leg strength (leg stretch) and velocity of kick were collected before experiment , four weeks after training and eight weeks after training. The optained data were analyzed in term of mean , standard deviation , independent t-test , One way analysis of variance with repeated measures , was used to multiple comparison by LSD The results indicated that 1. Average leg strength within group before experiment , four weeks after training and eight weeks after training . resistance elastic training group and recoil elastic training group . were significantly at the .05 level , eight weeks after training , resistance elastic training group leg strength improved 7.2 kilogram and recoil elastic training group leg strength improved 7.2 kilogram 2. Velocity of kick of left leg and right leg average within resistance elastic band group before experiment , four weeks after training and eight weeks after training. Were not significantly at the .05 level. But recoil elastic training group improved velocity of kick . were significantly at the .05 level. Average velocity non-dominant leg eight weeks after training better than 0.021 second and Average velocity dominant leg eight weeks after training better than 0.023 second.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.562-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตะกร้อ -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectการฝึกกำลังกล้ามเนื้อ
dc.subjectTakraw -- Study and teaching
dc.subjectMuscle strength training
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการฝึกด้วยยางยืดสองรูปแบบที่มีต่อความเร็วในการเตะของนักกีฬาเซปักตะกร้อเยาวชนชายen_US
dc.title.alternativeA COMPARISON OF TWO DIFFERENT ELASTIC TRAININGS ON VELOCITY OF KICK IN YOUNG MALE SEPAKTAKRAW ATHLETESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortonchaipat@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.562-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5578401839.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.