Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐนิภา คุปรัตน์-
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorปิติชาย ตันปิติ,2506--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-21T12:17:15Z-
dc.date.available2006-06-21T12:17:15Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745316423-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/430-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาปัจจัยเชิงระบบที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงบรรยาย แนวคิดในการวิจัยประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีระบบเปิด แนวคิดการประเมินประสิทธิผลองค์การโดยใช้ตัวแบบหน้าที่ทางสังคมของ Parsons เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม และแบบวัดประสิทธิผลองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดใช้สถิติบรรรยาย และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการปรับตัว ความสามารถในการบรรลุเป้าหมาย ความสามารถในการบูรณาการ และความสามารถในการรักษาแบบแผนทางวัฒนธรรมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาปัจจัยเชิงระบบที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีตัวแปรจำนวน 12 ตัวแปรที่สามารถอธิบายความแปรปรวนประสิทธิผลองค์การได้ 78% ดังนี้ 1) ระบบย่อยการจัดการ (การควบคุม) 2) ระบบย่อยการจัดการ (การนำ) 3) ระบบย่อยเทคโนโลยี 4) ระบบย่อยการจัดการ (การจัดองค์การ) 5) การจัดทำหลักสูตร 6) ความร่วมมือจากชุมชน 7) ความสามารถของนักเรียน 8) ระบบย่อยโครงสร้าง 9) ความเพียงพอของวัสดุ อุปกรณ์ 10) ระบบย่อยจิตสังคม 11) ความสามารถของผู้บริหาร และ 12) ระบบย่อยเป้าหมายen
dc.description.abstractalternativeTo investigate the system factors affecting the organizational effectiveness of basic education institutions. The researcher used descriptive research based on the conceptual framework of open system theory and the evaluation of organizational effectiveness through Parson's social function model. The data collection undertaken in this study were the analysis of the questionnaires and the evaluation form of organizational effectiveness of basic education institutions. The descriptive statistics and multiple correlation were used to analyze the data. The findings indicated that there were high levels in all aspects of capacity among the basic education institutions, namely : adaptation, goal attainments, integration and latency preserving. Focusing on the factors affecting the organizational effectiveness of basic education institutions, it was found that there were 12 variables that could be explicated as the variables of organizational effectiveness at 78% : 1) Sub-system of management (controlling) 2) Sub-system of management (leading) 3) Sub-system of technology 4) Sub-system of management (organizational management) 5) Curriculum organization 6) Coordination from the community 7) Students' abilities 8) Sub-system of structure 9) the sufficiency of materials 10) Psychosocial sub-system 11) the capacity of administrators and 12) Sub-system of goals.en
dc.format.extent1302900 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.721-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.subjectระบบสังคมen
dc.subjectประสิทธิผลองค์การen
dc.titleการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงระบบที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.title.alternativeAn analysis of system factors affecting organizational effectiveness of basic education institutionsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาเอกen
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.721-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitichai.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.