Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูลen_US
dc.contributor.authorทิพวรรณ ภัทรนุสรณ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:17Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:17Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43126
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู 2)พัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลอิทธิพลของการเสริมพลังอำนาจครูที่มีต่อผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการส่งผ่านของสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ได้รับอิทธิพลจากการเสริมพลังครูไปยังผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ตัวอย่างวิจัย คือ ครูระดับมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 450 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยายและสถิติเชิงอ้างอิง ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดยใช้โปแกรม SPSS การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1) ครูมีค่าเฉลี่ยของระดับสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอยู่ในระดับปานกลาง โดยพบว่าด้านเจตคติต่อการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนครูมีอยู่ในระดับสูง รองลงมา คือ ด้านทักษะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและผลการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู พบว่าครูที่มีเพศ วุฒิการศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการแตกต่างกัน มีระดับสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) โมเดลอิทธิพลของการเสริมพลังอำนาจครูที่มีต่อผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มีค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 15.48 องศาอิสระเท่ากับ.12 ความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.21 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนเท่ากับ 0.99 ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนได้เป็นร้อยละ 80 และ 7ตามลำดับ 3) โมเดลอิทธิพลของการเสริมพลังอำนาจครูที่มีต่อผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ประกอบด้วยตัวแปรตามผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนได้รับอิทธิพลทางตรงจากสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและการเสริมพลังอำนาจครู นอกจากนี้ตัวแปรสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนยังเป็นตัวแปรส่งผ่านที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study levels of teacher’s classroom action research competency; 2) to develop and validate of a causal model of action research competency, and 3) to analyze direct effects and indirect effects of teacher empowerment to classroom action research output with teacher's classroom action research competency as mediator. The sample of this study was 450 teachers. Questionnaire was used as research instrument. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation by employing SPSS. Structural Equation Model (SEM) analysis by LISREL. Results were the following: 1) Overall, the teachers had medium level of classroom action research competency. It was found that teachers had high level of attitude toward classroom action research. Skills of classroom action research were the second. Moreover, teachers with different sex , education and academic position had statistically significant different in classroom action research competency at the level of .05 2) The causal model fitted the empirical data (Chi-square = 15.48, df = 12, p=0.21, GFI =0.99 AGFI= 0.97). The variables in model accounted for 80 percent and 7 percent of the total variance of classroom action research competency. 3) Variable of classroom action research output had positive significant effects from classroom action research competency and teacher empowerment. Moreover, variable of classroom action research output had indirect effect from teacher empowerment with classroom action research competency as mediator.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.598-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครู -- การประเมิน
dc.subjectการศึกษา -- วิจัย
dc.subjectTeachers -- Rating of
dc.subjectEducation -- Research
dc.titleอิทธิพลของการเสริมพลังอำนาจครูที่มีต่อผลผลิตของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF TEACHER EMPOWERMENT ON CLASSROOM ACTION RESEARCH OUTPUT WITH CLASSROOM ACTION RESEARCH COMPETENCY AS MEDIATORen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorrauyporn@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.598-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583311727.pdf4.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.