Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภวรรณ ตันติเวชกุลen_US
dc.contributor.authorปิยะฉัตร พรหมมาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:53Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:53Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43193
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ด้วยการใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Online questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และทำการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างเฉพาะคนที่เป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทเฟซบุ๊ก (Facebook) และมีการเปิดรับข่าวสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ (Facebook fan page) ร่วมด้วย โดยไม่จำกัดเพศ อายุ วัย และพื้นที่อยู่อาศัย จำนวน 400 คน และประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความผูกพัน และการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่าน เฟซบุ๊กแฟนเพจ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารของผู้บริโภคกับความผูกพันของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารของผู้บริโภคกับการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่าน เฟซบุ๊กแฟนเพจ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความผูกพันของผู้บริโภคกับการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ ผลการวิจัย มีดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างมีการเปิดรับข่าวสาร ความผูกพัน และการตอบสนองต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจอยู่ในระดับสูง 2) การเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับความผูกพันของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจอยู่ในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยเป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวก 3) การเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยเป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวก 4) ความผูกพันมีความสัมพันธ์กับการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจอยู่ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยเป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวกen_US
dc.description.abstractalternativeThe research employs quantitative methodology using a survey with online questionnaires to collect data from 400 respondents who have Facebook accounts and are exposed to Facebook fan pages. SPSS Program was used for data processing. Percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coeffcients were used as statistical analysis tools. The objectives are as follows 1) to study consumers’ exposures, engagements, and responses towards communication via Facebook fan pages. 2) to study the relationship between consumers’ exposures and engagements towards communication via Facebook fan pages. 3) to study the relationship between consumers’ exposures and responses towards communication via Facebook fan pages. 4) to study the relationship between consumers’ engagements and responses towards communication via Facebook fan pages. The results of this research are as follows: 1) Consumers’ exposures, engagements, and responses towards communication via Facebook fan pages are in a high level. 2) Consumers’ exposures and engagements towards communication via Facebook fan pages were correlated positively in a low level with statistical significance at 0.01. 3) Consumers’ exposures and responses towards communication via Facebook fan pages were correlated positively in a moderate level with statistical significance at 0.01. 4) Consumers’ engagements and responses towards communication via Facebook fan pages were correlated positively in a high level with statistical significance at 0.01.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.732-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร
dc.subjectสือสังคมออนไลน์
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค
dc.subjectInformation behavior
dc.subjectSocial media
dc.subjectConsumer behavior
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความผูกพัน และการตอบสนองของผู้บริโภคต่อการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจen_US
dc.title.alternativeCONSUMERS' EXPOSURES, ENGAGEMENTS, AND RESPONSES TOWARDS COMMUNICATION VIA FACEBOOK FAN PAGESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornapawan.t@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.732-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5584682728.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.