Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4331
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เศรษฐา ปานงาม | - |
dc.contributor.author | อภิชาติ คงแป้น | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-10-09T11:50:02Z | - |
dc.date.available | 2007-10-09T11:50:02Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745325155 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4331 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | พัฒนาระบบระบุตำแหนงยานพาหนะแบบอัตโนมัติ เพื่อให้พนักงานประจำสถานีศูนย์กลาง สามารถระบุตำแหน่งของรถยนต์ผ่านสถานีศูนย์กลางได้อย่างถูกต้อง ซึ่งได้จัดทำระบบสำหรับกลุ่มรถแท็กซี่เป็นกรณีศึกษา มีอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถนยนต์เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่สนับสนุนเทคโนโลยีเอจีพีเอส และอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอรี่บนรถยนต์ โดยโปรกแกรมที่ติดตั้งบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ พัฒนาด้วยบลูที่เป็นแพล็ตฟอร์มบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ซีดีเอ็มเอ ในส่วนของโปรแกรมสำหรับสถานีศูนย์กลางพัฒนาด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี และโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล ให้พนักงานประจำศูนย์วิทยุสามารถทำงานผ่านโปรแกรมค้นดูเว็บได้ นอกจากนี้ได้มีการทดสอบและการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ และคุณสมบัติระหว่างระบบที่พัฒนาขึ้นกับระบบรุบุตำแหน่งยานพาหนะแบบอัตโนมัติ ที่ใช้เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสเป็นเครื่องระบุตำแหน่ง และสื่อสารข้อมูลผ่านโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่จีเอสเอ็ม / โครงข่ายจีพีเอสที่มีการใช้งานในปัจจุบัน ผลการวิจัยสรุปว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความสามารถในการระบุตำแหน่งได้ และมีความละเอียดถูกต้องของค่าตำแหน่งเฉลี่ยดีกว่าเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส ในบริเวณที่มีการบดบังสัญญาณจีพีเอสจากดาวเทียมจากสิ่งปลูกสร้าง แต่ในบริเวณพื้นที่โล่ง ผู้วิจัยพบว่าอุปกรณ์ทั้งสองชนิดมีความสามารถในการระบุพิกัดตำแหน่งได้ใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามการกระจายของข้อมูลค่าพิกัดตำแหน่งที่คำนวณได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีค่าสูงกว่าจากเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส สำหรับโปรแกรมบนสถานีศูนย์กลางผู้วิจัยได้พัฒนาโปรแกรม ให้มีความสามารถใกล้เคียงกับระบบที่มีการใช้งานในเชิงพาณิชย์ในปัจจุบัน ระบบที่จัดทำขึ้นมีหน้าที่การทำงานหลัก 2 รูปแบบคือ คนขับรถแท็กซี่สามารถเรียกใช้บริการต่างๆ จากเครื่องบริการเว็บโดยใช้พิกัดตำแหน่งของตนเองเป็นข้อมูลได้ และพนักงานประจำสถานีศูนย์กลางหรือพนักงานประจำศูนย์วิทยุสำหรับแท็กซี่ สามารถค้นหาพิกัดตำแหน่งของลูกข่ายใดๆ แล้วแสดงตำแหน่งของรถแท็กซี่บนแผนที่ผ่านทางโปรแกรมค้นดูเว็บ การทดนอบการทำงานพบว่า ระบบสามารถทำงานได้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ | en |
dc.description.abstractalternative | To develop an automatic vehicle location system that an operator can track the locations of vehicles correctly. In this development, the devices required for client side are AGPS-included handset and in-car battery charger. The embedded software in a handset was developed on BREW which is the standard platform on a DCMA-based handset. The dispatching program for an operator was developed on MySQL and in PHP. Testing and analysis results between this system and the others, using a traditional GPS receiver, communicating via GSM/GPRS network, are done. The experimental results suggest that the system avaibility and the location accuracy are better than a traditional GPS receiver, especially in fading environments. In open space, however, the performance of both is similar. Furthermore, the distribution of location data calculated from a handset location is more than that from a traditional GPS receiver. The program for an operation center is comparible to commercial automatic vehicle location system. The mainfunctions of the system consist of information request mode that allows clients to request location-based services from the web server, and request-response mode that allows operators to track the location of user handsets on a web browser, The current operation of the system shows that is runs correctly and meets the scope of requirements. | en |
dc.format.extent | 4148583 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1128 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก | en |
dc.subject | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ | en |
dc.subject | จีเอสเอ็ม (ระบบสื่อสารเคลื่อนที่) | en |
dc.subject | การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส | en |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | en |
dc.title | การพัฒนาระบบระบุตำแหน่งยานพาหนะแบบอัตโนมัติ โดยใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ซีดีเอ็มเอและเทคโนโลยีเอจีพีเอส | en |
dc.title.alternative | Development of an automatic vehicle location system using a CDMA-based mobile phone and a-GPS technology | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | setha@cp.eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1128 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
apichart_k.pdf | 4.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.