Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิพรรณ ประจวบเหมาะen_US
dc.contributor.authorธฤษณุ แสงจันทร์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialไทย
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:18Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:18Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43336
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทย โดยใช้ข้อมูลจาก โครงการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550” ดำเนินการโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกศึกษาเฉพาะประชากรสูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่มีผู้ดูแลเท่านั้น จึงได้จำนวนประชากรตัวอย่างทั้งหมด 2,456 ราย ผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้เบื้องต้นในการดูแลผู้สูงอายุไทย ผลจากการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบง่าย พบว่าระดับการศึกษาของผู้สูงอายุ เขตที่อยู่อาศัย จำนวนโรคที่เจ็บป่วย และระดับการศึกษาของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีอิทธิพลต่อความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกทวิภาคแบบพหุขั้นตอน พบว่าตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประกอบด้วย ตัวแปรระดับการศึกษาของผู้สูงอายุซึ่งสามารถอธิบายการแปรผันของความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยได้ดีที่สุด และระดับการศึกษาของผู้ดูแลผู้สูงอายุ จำนวนโรคที่เจ็บป่วย และการมีเครือข่ายทางสังคมตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to study the knowledge of elderly’s caregivers and to explore the factor associated with this knowledge by using the National Survey on Older Persons in Thailand 2007. This survey was conducted by the National Statistical Office in collaboration with the College of Population Studies, Chulalongkorn University and Burean of Empowerment for Older Persons. This study selected only older persons who had caregivers. The total cases include in this study are 2,456. The research results show that most of caregivers do not have basic knowledge on how to take care elder persons. Results for bivariate and analysis by use’s logistic regression indicate that education of the elderly, area of residence, number of diseases and education of the caregivers have statically significant relationship with the knowledge of caregivers. The results for stepwise multiple logistic regression reveal that the variables that have significant relationship with the knowledge of caregivers are education of the elderly, followed by education of caregivers, number of diseases and social network.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.17-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแล -- ไทย
dc.subjectผู้ดูแล
dc.subjectOlder people -- Care -- Thailand
dc.subjectCaregivers
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยen_US
dc.title.alternativeFACTORS ASSOCIATED WITH KNOWLEDGE OF CAREGIVERS AMONG ELDERLY THAISen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorvipan.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.17-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5386851651.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.