Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43342
Title: ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในแพทย์ใช้ทุน
Other Titles: THE PREVALENCE AND FACTORS ASSOCIATED STRESS AMONG THE MEDICAL INTERN
Authors: นิศากร เชื้อสาธุชน
Advisors: สรันยา เฮงพระพรหม
วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
Advisor's Email: hengprs@gmail.com
Vitool.L@Chula.ac.th
Subjects: ความเครียดในการทำงาน
แพทย์ -- ความเครียดในการทำงาน
Job stress
Physicians -- Job stress
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของความเครียด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในแพทย์ใช้ทุน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่แพทย์ใช้ทุนจำนวน 283 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือน เมษายน ถึง สิงหาคม พ.ศ.2556 อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามคิดเป็นร้อยละ 71.11 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค ผลการศึกษา พบว่า ความชุกของความเครียดในแพทย์ใช้ทุน เท่ากับ ร้อยละ 29.40 แพทย์ใช้ทุนส่วนใหญ่มีระดับความเครียดอยู่ในเกณฑ์ปกติและไม่เครียด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในแพทย์ใช้ทุนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ รายได้ (p value=0.036) ปัจจัยด้านการทำงาน ได้แก่ การเตรียมตัวก่อนทำงานเป็นแพทย์ใช้ทุน (p value=0.007) ความกดดันเรื่องเวลา (p value<0.001)
Other Abstract: The research was a cross-sectional descriptive study aimed to study the prevalence of stress and stress-associated factors among the medical interns. The samples used in the research were 283 medical interns, derived by a stratified random sampling. The questionnaire was used to collect the data from April to August 2013. The response rate was 71.11%. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and logistic regression analysis. The study results revealed that the prevalence of stress among the medical interns was 29.40 percent. Most of the interns in question illustrated the normal to none of stress level. The significant stress-associated factors at the 0.05 level found in the study were income (p value=0.036) of the personal factor, preparation before working as a medical intern (p value=0.007), time pressure (p value<0.001).
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43342
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.758
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.758
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5474132130.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.