Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีณา จีระแพทย์en_US
dc.contributor.advisorนรลักขณ์ เอื้อกิจen_US
dc.contributor.authorธัญวรรณ คุตมาสูนย์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:35Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:35Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43366
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการเตรียมผู้ป่วยเด็กร่วมกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายของเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กอายุ 7-12 ปี ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยเด็ก แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการจับคู่ประสบการณ์ที่ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายเหมือนกัน กลุ่มละ 23 คน กลุ่มทดลองได้รับการเตรียมผู้ป่วยเด็กร่วมกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แผนการเตรียมผู้ป่วยเด็กร่วมกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และแบบสังเกตพฤติกรรมความร่วมมือในการได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา แบบสังเกตมีค่าความเที่ยงของการสังเกตเท่ากับ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยที่สำคัญมีดังนี้ ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมความร่วมมือในการได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายของเด็กวัยเรียน กลุ่มที่ได้รับการเตรียมผู้ป่วยเด็กร่วมกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research study aimed at examine the effect of pediatric patient preparation combined with computer-assisted instruction program (PPP-CAI program) on compliance behavior. Subjects were children aged 7-12 years old admitted to the pediatric wards and were assigned to the control or the experimental group. There were 23 subjects in each group. The control group received the routine nursing care, while the experimental received the PPP-CAI program. Research instruments included the PPP-CAI program and the compliance behavior in peripheral intravenous infusion observation form. All instruments passed content validity. The inter-rater reliability of the observational form was .93. Mean, standard deviation, Chi-square, and independent student-t test were used to analyze data. The results revealed that the mean of the compliance behavior in peripheral intravenous infusion in school-age children in the experimental group was higher than that in the control group at the significant level of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.833-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
dc.titleผลของการเตรียมผู้ป่วยเด็กร่วมกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายของเด็กวัยเรียนen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF PEDIATRIC PATIENT PREPARATION COMBINED WITH COMPUTER-ASSISTED INSTRUCTION PROGRAM ON COMPLIANCE BEHAVIOR IN PERIPHERAL INTRAVENOUS INFUSION AMONG SCHOOL-AGE CHILDRENen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorj_veena@hotmail.comen_US
dc.email.advisornoraluk@myrealbox.com
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.833-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477167736.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.