Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAnchali krisanachindaen_US
dc.contributor.advisorKitiwat Khamwanen_US
dc.contributor.authorChatnapa Nuntueen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicineen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:38Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:38Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43469
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractTube current modulation is one of the radiation dose reduction methods. Target SD is a part of AEC system designed by the manufacturer to select the image quality by fixing the image noise and be able to reduce the radiation dose. The purposes of this study are to determine the radiation dose and image quality when varying Target SD and beam pitch. Optimal protocols are obtained by the appropriate Target SD and beam pitch using lung man phantom with nodules. The lung man chest phantom with five spheres simulated nodules of 12, 10, 8, 5 and 3 mm diameters at 100 HU were scanned with varying beam pitch of 0.637, 0.813, 1.388, kVp at 120 and 100, Target SD from 9 to 25 and mA of 10-400 for 320 MDCT. The radiation dose in term of C_VOL (mGy) and DLP (mGy.cm) were recorded from the CT monitor. The quantitative image quality was determined by the contrast to noise ratio (CNR) values, the qualitative image quality was evaluated in part of spatial resolution and nodule detection capability by two independent radiologists. When varying Target SD and beam pitch for 320 MDCT using lung man phantom and nodules, C_VOL decreased from 5.9 to 0.7 mGy for 120 kVp and 5.3 to 0.8 mGy for 100 kVp. The C_VOL and DLP of 120 kVp were slightly higher than at 100 kVp in all pitch on Target SD 9 and 14 but for Target SD 20 and 25, C_VOL did not change in all pitch. The percent CNR is highest at pitch 0.637 when compared to other pitch. The percent CNR of lung window is higher than soft tissue window for all pitch and the best spatial resolution image was also obtained with lung window. The scoring on image quality by two radiologists was in good agreement. Target SD and kVp affect radiation dose while Target SD, pitch and kVp affect the image quality. The selection Target SD depends on clinical applications. Optimal protocol for routine chest CT is Target SD 20, 10-400 mA at pitch 0.813 and 120 kVp.en_US
dc.description.abstractalternativeวิธีลดปริมาณรังสีใช้เทคนิคการปรับค่ากระแสหลอด-วินาที และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นส่วนหนึ่งของระบบควบคุมปริมาณรังสีแบบอัตโนมัติจากเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิด 320 สไลซ์ ซึ่งโรงงานผู้ผลิตใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานในการควบคุมคุณภาพของภาพโดยควบคุมสัญญาณรบกวนบนภาพและเกี่ยวเนื่องกับปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณรังสีและคุณภาพของภาพเมื่อมีการตั้งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าพิตช์ที่ต่างกัน และหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าพิตช์ที่เหมาะสม โดยศึกษาในหุ่นจำลองทรวงอกและก้อนเนื้อในปอด หุ่นจำลองทรวงอกภายในมีก้อนเนื้อรูปทรงกลม 5 ก้อน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12, 10, 8, 5 และ 3 มม. ถูกนำมาสแกนด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ด้วยการตั้งค่าพารามิเตอร์ที่แตกต่างกันของค่าพิตช์ 3 ค่า คือ 0.637, 0.813 และ 1.388, ค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ คือ 120 และ 100, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9, 14, 20, 25 และค่ากระแสหลอดต่ำที่สุดถึงสูงที่สุดคือ 10-400 มิลลิแอมแปร์ ทำการบันทึกค่าปริมาณรังสี ชนิด C_VOL และ DLP จากหน้าจอ ประเมินคุณภาพของภาพเชิงปริมาณโดยวิธีการหาอัตราส่วนความคมชัดของภาพต่อสัญญาณรบกวน (ซีเอ็นอาร์) การประเมินในเชิงคุณภาพโดยความสามารถในการแสดงก้อนเนื้อทรงกลมจำลอง และขนาดของก้อนเนื้อทรงกลมจำลองที่เล็กที่สุดโดยรังสีแพทย์ 2 คน จากผลการศึกษาพบว่าเมื่อมีการใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าพิตช์ที่แตกต่างกันสำหรับเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิด 320 สไลช์ด้วยหุ่นจำลองทรวงอกและก้อนเนื้อในปอด ค่า C_VOL ลดลงจาก 5.9 เหลือ 0.7 มิลลิเกรย์ สำหรับค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ 120 และลดลงจาก 5.3 เหลือ 0.8 มิลลิเกรย์ สำหรับค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ที่ 100 ค่า C_VOL และ DLP ของค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ 120 สูงกว่าค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ 100 เล็กน้อยในทุกค่าพิตช์ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9 และ 14 แต่สำหรับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 20 และ 25 ค่า C_VOL ไม่เปลี่ยนแปลงในทุกค่าพิตช์ ค่าพิตช์ 0.637 ให้ค่าเปอร์เซ็นต์ซีเอ็นอาร์มากที่สุด ค่าเปอร์เซ็นต์ซีเอ็นอาร์ของ lung window มีค่าสูงกว่าค่าเปอร์เซ็นต์ซีเอ็นอาร์ของ soft tissue window ในพิตช์ทุกค่า และยังให้ค่าขนาดของก้อนเนื้อทรงกลมจำลองที่เล็กที่สุดอีกเช่นกัน การให้คะแนนในการประเมินคุณภาพของภาพโดยรังสีแพทย์ 2 คนอยู่ในเกณฑ์ดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณรังสี คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของภาพ ได้แก่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิตช์ และค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ การพิจารณาใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของโรคปอด จากผลการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่า การตรวจเนื้อเยื่อปอดโดยโปรโตคอลที่เหมาะสมใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 20 ค่ากระแสหลอด 10-400 มิลลิแอมแปร์ ค่าพิตช์ 0.813 และค่าความต่างศักย์หลอดเอกซเรย์ 120en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.936-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectIrradiation
dc.subjectDiagnosis, Radioscopic
dc.subjectการฉายรังสี
dc.subjectรังสีวินิจฉัย
dc.titleOPTIMIZATION OF 320 MDCT USING BEAM PITCH AND TUBE CURRENT MODULATION FOR PROPER TARGET SD ON LUNG NODULE –CHEST PROTOCOL: PHANTOM STUDYen_US
dc.title.alternativeการใช้ปริมาณรังสีอย่างเหมาะสมสำหรับเครื่องซีที 320 สไลซ์ โดยการปรับค่าพิตช์และเทคนิคการปรับกระแสหลอด-เวลาเพื่อให้ได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เหมาะสมบนภาพที่มีคุณภาพยอมรับได้ของก้อนเนื้อในปอดโดยใช้โปรโตคอลทรวงอก: การศึกษาในหุ่นจำลองen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedical Imagingen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisoranchali.kris@gmail.comen_US
dc.email.advisorkitiwat.k@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.936-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574117930.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.