Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมล แก้วกิติณรงค์en_US
dc.contributor.advisorสมเกียรติ วงษ์ทิมen_US
dc.contributor.authorปานหทัย ทองมากen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:46Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:46Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43485
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractที่มา : โรคหลอดลมโป่งพองเป็นโรคทางเดินหายใจอักเสบเรื้อรัง ผู้ป่วยมักมีความทุกทรมานจากอาการหายใจลำบาก ไอมีเสมหะส่งผลให้เกิดคุณภาพชีวิตที่แย่ลง ประสิทธิภาพของยาสูดชนิดผสมของยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาวที่ออกฤทธิ์กระตุ้นเบต้ารีเซฟเตอร์ชนิดที่สองกับสเตียรอยด์ นั้นยังไม่มีหลักฐานเพียงพอ วิธีการศึกษา : ผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพองที่ได้รับการวินิจฉัยจากการทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกที่มีอาการ จำนวน 34 คน ได้เข้าสู่การศึกษา โดยผู้ป่วยที่มีประวัติสูบบุหรี่มากกว่า 10 ซองปี หรือมีการตอบสนองต่อยาขยายหลอดลมจากการตรวจสไปโรเมตรีย์จะถูกคัดออกจากการศึกษา ผู้ป่วยจะไดรับการสุ่มเพื่อรับยาสูด ซัลเมเทอรอล/ฟลูติคาโซน (S/F) ขนาด 50/250 ไมโครกรัม หรือยาสูดหลอก วันละ 2 ครั้ง เก็บข้อมูลทางระบาดวิทยา ตรวจความจุปอด คำถามทางระบบการหายใจเซนต์จอร์จ (SGRQ) และตรวจการเดินใน 6 นาทีที่จุดเริ่มการศึกษา ที่ 12 และ 24 สัปดาห์หลังได้รับยาสูด ผลการศึกษา : หลังจาก 24 สัปดาห์ ไม่พบความแตกต่างที่มีนัยสำคัญของความจุปอดเมื่อเทียบกับก่อนการศึกษาในทั้งสองกลุ่ม โดยมีการเปลี่ยนแปลงแสดงเป็นค่าเฉลี่ย และในวงเล็บเป็นค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของค่า FEV1 ก่อนและหลังสูดยาขยายหลอดลม ค่า FVC ก่อนและหลังสูดยาขยายหลอดลม ในกลุ่ม S/F เท่ากับ +63 (0.237) +5 (0.221) +107 (0.348) และ +24 (0.353) มิลลิลิตร ตามลำดับ เทียบกับในกลุ่มยาสูดหลอด เท่ากับ -45 (0.101), -56 (0.144), -50 (0.202) และ -71 (0.199) มิลลิลิตร ตามลำดับ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ประเมินจากคะแนน SGRQ ในระหว่าง 2 กลุ่ม โดยมีค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงของคะแนนรวม SGRQ ในกลุ่ม S/F และกลุ่มยาหลอกเท่ากับ -10.55 และ -4.46 ตามลำดับ (p = 0.462) ไม่มีความแตกต่างของระยะทางที่เดินใน 6 นาทีที่เปลี่ยนไปในทั้งสองกลุ่ม โดยมีค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงในกลุ่ม S/F และกลุ่มยาหลอกเท่ากับ 18.0 และ -5.6 เมตร ตามลำดับ (p=0.178). สรุป: ยาสูดซัลเมเทอรอล/ฟลูติคาโซนไม่ช่วยเพิ่มความจุปอด คุณภาพชีวิต และความสามารถในการออกกำลังในผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพองen_US
dc.description.abstractalternativeBackground: Bronchiectasis is a chronic inflammatory airway disease. Patients usually suffer from breathlessness, productive cough causing poor quality of life. The efficacy of combination of long-acting beta2 agonist and inhaled corticosteroid in bronchiectasis is lack of evidence. Method: Thirty-four symptomatic bronchiectasis patients diagnosed by high-resolution CT scan of the thorax were enrolled into the study. Patients who smoked more than 10 pack-years or had bronchodilator response from spirometry were excluded. Patients were randomized to receive salmeterol/fluticasone (S/F) inhaler 50/250 mcg or placebo inhaler twice daily. Demographic data, pulmonary function, Saint George’s respiratory questionnaire (SGRQ) and 6-minute walk test results were collected at baseline, 12 weeks and 24 weeks after treatment. Results: After 24 week, there was no significant change of pulmonary function from baseline in both groups. The mean changes of pre-bronchodilator FEV1, post-bronchodilator FEV1, pre-bronchodilator FVC and post-bronchodilator FVC (SD) in S/F group were +63 (0.237), +5 (0.221), +107 (0.348) and +24 (0.353) ml, respectively compared with those in placebo of -45 (0.101), -56 (0.144), -50 (0.202) and -71 (0.199) ml, respectively. There was no statistically significant difference in pulmonary function between two groups No statistical improvement in SGRQ total score between two groups (mean change of SGRQ total score -10.55 and -4.46 respectively (p = 0.462)). There was no difference in 6MWT from baseline in both groups (mean change of S/F and placebo group = 18.0, -5.6 m: p=0.178). Conclusion: Salmeterol/fluticasone treatment does not improve lung function, quality of life and exercise capacity in bronchiectasis patients.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.949-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectถุงลมโป่งพอง
dc.subjectหลอดลมพอง
dc.subjectEmphysema, Pulmonary
dc.subjectBronchiectasis
dc.titleผลของการให้ยาสูดซัลเมเทอรอล/ฟลูติคาโซนต่อสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพองที่ไม่ใช่โรคซิสติค ไฟโบรซิสen_US
dc.title.alternativeEffect of Inhaled Salmeterol/Fluticasone on Lung Function in Patient with Non-Cystic Fibrosis Bronchiectasisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkamonkaw@hotmail.comen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.949-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574146030.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.