Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิติ สนับบุญen_US
dc.contributor.authorลิลลี่ ปฐมหยกen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:49Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:49Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43491
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractที่มา : โรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟ เป็นโรคออโตอิมมูน พบมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทางพันธุกรรม โดยยีนที่มีรายงานมากที่สุดยีนหนึ่งคือ HLA ทั้ง HLA class II และ HLA class I ซึ่งอัลลีลที่พบมีความแตกต่างกันระหว่างเชื้อชาติ ในชาวเอเชียพบความสัมพันธ์ของ HLA-B*46 กับการเกิดโรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟ วิธีดำเนินการวิจัย : เป็นการศึกษาย้อนหลังเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยโรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟ เทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่มีโรคออโตอิมมูนและตรวจไม่พบไทรอยด์แอนติบอดี ตรวจหาอัลลีลของยีนHLA-B*46 ด้วยวิธี PCR-SSP โดยตั้งสมมติฐานว่าพบความสัมพันธ์ของ HLA-B*46 ต่อการเกิดโรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟในผู้ป่วยชาวไทย ผลการวิจัย : พบ HLA-B*46 ในกลุ่มผู้ป่วย Graves’ disease จำนวน 11 คน จาก 54 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และในกลุ่มควบคุม พบมี HLA-B*46 จำนวน 5 คน จาก 61 คน คิดเป็นร้อยละ 8 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง HLA-B*46 ในกลุ่มผู้ป่วย Graves’ disease และกลุ่มควบคุมพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (P = 0.060) สรุปผลการวิจัย : ไม่พบความสัมพันธ์ของ HLA-B*46 ต่อการเกิดโรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟของผู้ป่วยชาวไทยen_US
dc.description.abstractalternativeBackground : Graves’ disease is an autoimmune disease that associated with genetic factors. The most susceptibility gene is Human leukocyte antigen (HLA) gene, both HLA class II and HLA class I, which has ethnicity difference. In Asian population had reported susceptibility of HLA-B*46 Methods : A retrospective case-control study compares patients with Graves’ disease and control group, which no autoimmune disease and negative for thyroid autoantibodies. We analyzed human leukocyte antigen (HLA) by PCR-SSP. The Hypothesis is HLA-B*46 associated with Graves’ disease Results : 54 Thai patients with Graves’ disease and 61 controls, HLA-B*46 was found in 11 subjects in Graves’ disease (20%) and 5 subjects in controls (8%). No association between HLA-B*46 and Graves’ disease in Thai patients. (P = 0.060) Conclusion : No association between HLA-B*46 and Graves’ disease in Thai patients.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.971-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง
dc.subjectการแสดงออกของยีน
dc.subjectAutoimmune diseases
dc.subjectGene expression
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน HLA-B*46 กับการเกิดโรคและลักษณะทางคลินิกของโรคไทรอยด์เป็นพิษชนิดเกรฟของผู้ป่วยชาวไทยen_US
dc.title.alternativeASSOCIATION BETWEEN HLA-B*46 POLYMORPHISM AND THE SUSCEPTIBLITY AND CLINICAL MANIFESTATION OF GRAVES’ DISEASE IN THAI PATIENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsnabboon@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.971-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574154030.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.