Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ ศุภปีติพรen_US
dc.contributor.authorภาวิน ทองไชยen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:39:06Z
dc.date.available2015-06-24T06:39:06Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43528
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพจิต และการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมในชมรมผู้สูงอายุและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุเขตคลองสาน ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ชมรมผู้สูงอายุสวนสมเด็จย่า และชมรมผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุข 28 กรุงธนบุรี ที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาและเป็นสมาชิกในชมรมอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคม 2556 ถึงเดือนมกราคม 2557 จำนวน 112 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป แบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ และแบบสอบถามวัดสุขภาพจิตฉบับสั้น 15 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Independent t-test, One-way ANOVA, Pearson's correlation และวิเคราะห์ปัจจัยทำนายโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณตามลำดับตัวแปรที่นำเข้าสมการ (Stepwise Multiple Linear Regression Analysis)ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุเป็นเพศหญิงร้อยละ 87.5 อายุเฉลี่ย 69.25±6.70 ปี สุขภาพจิตผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.8 พฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 75.0 และรายด้านทั้ง 7 ด้านอยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05 ได้แก่ สถานภาพสมรสและพฤติกรรมการดูแลตนเอง และพบการดูแลสุขภาพกายโดยทั่วไป การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาพจิต(r=0.272,r=0.254 และr=0.245) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 และพบว่าปัจจัยด้านการดูแลสุขภาพกายโดยทั่วไปและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถร่วมทำนายได้ ร้อยละ 10.7en_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study mental health and self-care of the elderly in the aging club and factors associated with mental health and self-care of the elderly in the aging club at Khlongsarn District, Bangkok. Cross-sectional descriptive study was conducted. The samples were 112 older persons in The Somdet Chaophaya aging club, The Suan Somdet Ya aging club and The Health Center 28 Krungthonburi aging club at Khlongsarn for older persons were recruited during August 2013 to January 2014. The instruments consisted of demographic data questionnaires, self-care behaviors and Thai Mental Health Indicators : TMHI.15). The data were analyzed using descriptive statistics, Independent t-test, One-way ANOVA, Pearson's correlation and Stepwise Multiple Linear Regression Analysis. About 87.5% of the samples were female. Their mean age was 69.25+6.70 years. The research findings were as follows : 1) 42.8% of the sample had good mental health ; 2) The study results showed that the elderly self-care behavior was at a moderate level. Considering to each dimension, it was also at a moderate level. 3) Marital status and self-care behavior of the elderly were related to their mental health status (p<0.05). 4) General physical care, communication effectiveness and interpersonal relationship were significantly correlated to mental health in positive direction (r=0.272,r0.254 and r0.245) at P<0.01. The predicting factors for mental health in general physical care and communication effetiveness had 10.7%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.966-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพจิต
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
dc.subjectOlder people -- Mental health
dc.subjectSelf-care, Health
dc.titleสุขภาพจิตและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ เขตคลองสาน กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeMENTAL HEALTH AND SELF CARE OF THE ELDERLY IN THE AGING CLUB AT KHLONGSARN DISTRICT BANGKOKen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsiriluckspp@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.966-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574360030.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.