Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43546
Title: | DETERMINANTS OF CONSUMER’S PERCEPTION ON DRUGSTORE STANDARDS: CASE STUDY OF PRACHANIVET 3 VILLAGE, NONTHABURI PROVINCE, THAILAND |
Other Titles: | ปัจจัยที่กำหนดการรับรู้ของผู้บริโภคต่อมาตรฐานร้านยา: กรณีศึกษาหมู่บ้านประชานิเวศน์ 3 จังหวัดนนทบุรี ประเทศไทย |
Authors: | Navakan Navanuch |
Advisors: | Paitoon Kraipornsak Sathitpong Thanaviriyakul |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
Advisor's Email: | Paitoon.K@chula.ac.th No information provided |
Subjects: | Consumers -- Attitudes Drugstores -- Standards ผู้บริโภค -- ทัศนคติ ร้านขายยา -- มาตรฐาน |
Issue Date: | 2013 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The study of determinants of consumer’s perception on drugstore standards in Prachanivet 3 village, Nonthaburi Province, Thailand is subjected to investigate about the consumer’s perception on drugstore standards in different characteristic of people and comparison among many determinants that impact the consumer’s perception on drugstore standards in families living in Prachanivet 3 Village. The method using in this study was convenient sampling for 200 samples by questionnaire survey. The results discovered that the perception levels of all drugstore standards are important( x= 4.22), whereas the perception level of each drugstore standard was found that Standard no.1: Place, equipment and service support issues, the perception level is important (x = 4.21); determinants are gender and frequency of using drugstore. Standard no.2: Administration and management for quality, the perception level is important (x = 4.24); determinants are gender, household income and frequency of using drugstore. Standard no.3: Good pharmacy services, the perception level is important (x = 4.18); determinants are occupation, right to medical care and money spend in drugstores. Standard no.4: Compliance with rules, regulations and professional ethics, the perception level is important ( x= 4.34); determinants are gender, household income and influenced person in drugstore. Standard no.5: Services and participation to the community and society, the perception level is important ( x= 4.16); determinants are gender, age, money spend in drugstores and influenced person in drugstore. This study found out about consumer’s perception of all 5 drugstore standards. The regulator of drugstore standards, owners of drugstore and general public can use this study to improve drugstores to be more acceptable and more reliable for Thai people. |
Other Abstract: | การศึกษาปัจจัยที่กำหนดการรับรู้ของผู้บริโภคต่อมาตรฐานร้านยา:กรณีศึกษาหมู่บ้านประชานิเวศน์ 3 จ.นนทบุรี ประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาระดับการรับรู้ของผู้บริโภคต่อมาตรฐานร้านยาในกลุ่มประชากรที่มีลักษณะแตกต่างกันและเปรียบเทียบปัจจัยกำหนดต่างๆที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภคต่อมาตรฐานร้านยาในครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านประชานิเวศน์ 3 วิธีการเก็บข้อมูลเป็นแบบสุ่มตามสะดวก จำนวน 200 ตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม จากผลการศึกษาพบว่าระดับความสำคัญของมาตรฐานร้านยาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x= 4.22) และเมื่อพิจารณาเป็นรายมาตรฐานพบว่า มาตรฐานที่ 1 ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งสนับสนุนการให้บริการ มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ( x = 4.21) ปัจจัยที่กำหนดคือเพศและความถี่ในการใช้ร้านยา มาตรฐานที่ 2 ด้านการบริหารและการจัดการด้านคุณภาพ มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ( x = 4.24) ปัจจัยที่กำหนดคือเพศ รายได้ต่อครัวเรือนและความถี่ในการใช้ร้านยา มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารทางเภสัชกรรมที่ดี มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ( x = 4.18) ปัจจัยที่กำหนดคืออาชีพ สิทธิรักษาพยาบาลและรายจ่ายในร้านยา มาตรฐานที่ 4 ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับและจรรยาบรรณทางด้านวิชาชีพ มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ( x= 4.34) ปัจจัยที่กำหนดคือเพศ รายได้ต่อครัวเรือนและบุคคลที่มีอิทธิพลในร้านยา มาตรฐานที่ 5 ด้านความร่วมมือต่อสังคม มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ( x = 4.16) ปัจจัยที่กำหนดคือเพศ อายุ รายจ่ายในร้านยาและบุคคลที่มีอิทธิพลในร้านยา การศึกษานี้ทำให้ทราบถึงมุมมองของผู้บริโภคที่มีต่อมาตรฐานร้านยาทั้ง 5 ด้าน ซึ่งผู้กำกับคุณภาพมาตรฐานร้านยา, เจ้าของกิจการร้านยาและผู้เกี่ยวข้อง สามารถนำข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาร้านยาให้เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือของประชาชนต่อไป |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Economics and Health Care Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43546 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1013 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.1013 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5585610729.pdf | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.