Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43547
Title: TECHNICAL EFFICIENCY OF COMPREHENSIVE HEALTH CENTERS IN AFGHANISTAN
Other Titles: ประสิทธิภาพทางเทคนิคของศูนย์สุขภาพชุมชนในประเทศอัฟกานิสถาน
Authors: Nasratullah Samimi
Advisors: Pongsa Pornchaiwiseskul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: pongsa.p@chula.ac.th
Subjects: Public health
Public health administration
อนามัยชุมชน
การบริหารสาธารณสุข
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study aimed to inspect the issues surrounding efficiency in the Afghanistan public health sector with specific focus on comprehensive health centres (CHC), in order to find out and evaluate the relative efficiency and also to investigate the factors that are affecting the performance of CHCs in Afghanistan. This study applied Data Envelopment Analysis (DEA) approach to observe efficiency scores of 304 sample CHCs'. Outputs of the study include: Antenatal care services, postnatal care services, Skilled birth attendance services, Family planning services, Outpatients services, Vaccination services and Tuberculosis positive case detection. And also the inputs to the study include Outreach health worker, Medical health provider, Ancillary service staff, and supportive staffs. The results disclosed that there were considerable variations of efficiency scores from the best practice frontier in either of return to scale assumptions. Such as: the mean pure technical efficiency (TEVRS) and overall technical efficiency (TECRS) were 64% and 59%, while mean scale efficiency (SE) was 92% under output oriented DEA model. However, TEVRS and TECRS were 66% and 59% and mean SE was of 87% under input oriented DEA model. According to this study 88%(270) of the CHCs found that were running inefficiently and about 70% (215) comprehensive health centres were found to be operating below their average pure technical efficiency score (64%) and 75 CHCs show scale efficient. In Addition the pattern of scale inefficiency shows that a majority (204) of the CHCs were decreasing return to scale efficiency under output oriented DEA. In addition, Tobit regression shown that catchment population positively linked and significantly affecting the technical efficiency [P-value = 0.000]. That means relatively efficient health centres are located in high catchment population areas. Furthermore, from the total explanatory variable for regression analysis only RBF-incentive shown positive link with technical efficiency while the rest of variables shown negative correlation except catchment population described before. In respect to the output oriented DEA model, majority of the CHCs are operating under decreasing return to scale, so reducing the size of those health facilities is recommended to become efficient.
Other Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ Comprehensive Health Centers ซึ่งเป็น หน่วยสาธารณสุขของประเทศอากานีสถาน เพื่อที่จะค้นพบและประเมินประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบและศึกษาปัจจัยที่ส่งผลที่สมรรถาพการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยสาธารณสุขในประเทศอาฟกานีสถาน การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพดของตัวอย่างจำนวน 304 ตัวอย่าง ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า ผลของการให้บริการก่อนและหลัง การให้กำเนิดโดยผู้เชี่ยวชาญทางสาธารณสุข การให้บริการวางแผนครอบครัว การให้บริการผู้ป่วยนอก การให้บริการทำวัคซีน และการตรวจสอบไวรัสตับอักเสบ TB นอกจากนี้ปัจจัยที่ส่งผลในการศึกษาครั้งนี้รวมถึง คนงานนอกระบบประกัน ผู้ให้บริการทางสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ให้บริการทางเภสัขและการตรวจทางสุขภาพ และเจ้าหน้าที่ในหน่วยสนับสนุน ผลการศึกษาพบว่าคะแนนประสิทธิภาพที่มีขอบเขตที่ดีที่สุดที่อยู่บนพื้นฐานของอัตราการตอบแทนได้แก่ ประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย และประสิทธิภาพในภาพรวม คิดเป็นรัอยละ 64 และ 59 ตามลำดับในขณะที่ ระดับค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 92 ภายใต้การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกของแบบจำลอง DEA อย่างไรก็ตาม ในส่วนของปัจจัยเข้า ประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย และประสิทธิภาพในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 66 และ 59 ตามลำดับ ในขณะที่ระดับค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 87 จากการศึกษาครั้งนี้ กว่าร้อยละ 88 หรือ 270 ตัวอย่างของเจ้าหน้าที่ของ CHC พบว่า ไม่มีประสิทฺภาพ และกว่าร้อยละ 70 หรือ 215 ตัวอย่างของ CHC ดำเนินการในระดับที่ต่ำกว่า ประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย (ร้อยละ 64) และเจ้าหน้าที่จำวน 75 ตัวอย่าง มีการดำเนินการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นจากรูปแบบของระดับความไม่มีประสิทธิภาพแสดงถึงจำนวนเจ้าหน้าที่ CHC โดยส่วนใหญ่กว่า 204 ตัวอย่าง มีระดับตอบสนองต่อประสิทธิภาพที่ลดลงภายใต้การวิเคราะห์ในแบบจำลอง DEA นอกจากนั้น แบบจำลอง Tobit พบว่ามีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันระหว่างประชากรและส่งผลต่อนัยสำคัญทางสถิติทางด้านประสิทธิภาพทางเทคนิค ค่าระดับนัยสำคัญ คือ 0.000 ซึ่งหมายความว่าค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบของศูนย์สาธารณสุขดังกล่าวอยู่ในระดับสัดส่วนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและประชาชนในระดับสูง และจากการวิเคราะห์สมการถดถอยพบว่า ในส่วนของ RBF-incentive เท่านั้นที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันประสิทธิภาพทางเทคนิค ในขณะที่ปัจจัยอื่นมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม เมื่อพิจารณาปัจจัยภายนอกภายใต้แบบจำลอง DEA พบว่า การให้บริการทางสาธารณสุขของ CHC อยู่ในช่วงของการลดน้อยถอยลงของอัตราตอบแทน และดังนั้นการลดขนาดของการให้บริการจะส่งผลทำให้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพทางสาธารณสุข
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Economics and Health Care Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43547
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1014
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1014
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5585612029.pdf5.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.