Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43671
Title: ระบบควบคุมเวกเตอร์แบบไร้เซนเซอร์วัดตำแหน่งสำหรับเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดป้อนสองทางที่ใช้ค่าความคลาดเคลื่อนของแบบจำลองโรเตอร์บนแกนอ้างอิงโฮโลโนมิก
Other Titles: A POSITION-SENSORLESS VECTOR-CONTROL SYSTEM FOR DOUBLY-FED INDUCTION MACHINES USING ERROR ROTOR MODEL ON HOLONOMIC REFERENCE FRAME
Authors: จิรัฏฐ์ อุดมศรี
Advisors: สุรพงศ์ สุวรรณกวิน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: surapong.su@eng.chula.ac.th
Subjects: เครื่องจักรกลไฟฟ้า
กริด (การทำแผนที่)
Electric machinery
Grids (Cartography)
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอระบบขับเคลื่อนสำหรับเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดป้อนสองทางแบบไร้เซนเซอร์วัดตำแหน่งที่ใช้วิธีค่าผิดพลาดของแบบจำลองโรเตอร์บนแกนอ้างอิงโฮโลโนมิก แนวคิดที่นำเสนอในงานวิจัยปราศจากผลกระทบจากการเลื่อนของสัญญาดีซีออฟเซต อีกทั้งสามารถทำงานได้ในสภาวะที่กระแสโรเตอร์มีขนาดน้อยๆและสภาวะเชื่อมต่อกับกริด โดยวิธีประมาณตำแหน่งและความเร็วโรเตอร์ มีโครงสร้างการคำนวณที่ง่ายและไม่ซับซ้อน งานวิจัยนี้ยังได้วิเคราะห์เสถียรภาพของระบบประมาณค่าตำแหน่งด้วยวิธีการทำให้เป็นเชิงเส้นและสามารถแสดงเงื่อนไขเพียงพอสำหรับการยืนยันความมีเสถียรภาพรอบๆค่าประมาณหนึ่ง นอกจากนี้ยังนำเสนอการออกแบบค่าอัตราขยายการปรับตัวสำหรับระบบประมาณตำแหน่งที่มีลักษณะการควบคุมแบบวงรอบเปิด โดยพิจารณาผลตอบสนองอันดับหนึ่งแบบหน่วงเกินในการออกแบบ ความถูกต้องทางทฤษฎีที่นำเสนอสามารถยืนยันได้ด้วยผลการจำลองการทำงานและผลการทดลองกับระบบจริง
Other Abstract: A position-sensorless drive for doubly-fed induction machines based on the method of error rotor model on holonomic reference frame is proposed in this thesis. The proposed estimation scheme does not suffer from the DC offset drift problem and this system has the capability to operate at zero rotor current, e.g. at no-load condition with reactive current drawn from grid. The rotor position estimation is also simple for implementation. The stability of the position-sensorless is validated by the linearization method and the sufficient conditions are given. In addition, the design guidelines for adaptive gains are introduced to obtain the over-damped first-order response. The simulation and experiment confirmed the validation of theoretical results.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43671
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1127
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1127
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5370411421.pdf7.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.