Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4371
Title: ผลของโซเดียมคลอไรด์ต่อการตกตะกอนร่วมของ แคลเซียมและแมกนีเซียมไอออนในรูปของ แคลเซียมคาร์บอเนตและแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
Other Titles: Effect of sodium chloride on the coprecipitation of calcium and magnesium ions as calcium carbonate and magnesium hydroxide
Authors: จุฑามาศ โชติพานิช
Advisors: วิทย์ สุนทรนันท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: wit.s@chula.ac.th
Subjects: โซเดียมคลอไรด์
การตกตะกอน (เคมี)
แคลเซียมคาร์บอเนต
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาผลของค่าความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ ต่อการเกิดตะกอนร่วมระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตและแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ จากผลการศึกษาพบว่าที่ค่าความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์สูงส่งผลให้ค่า pH ของสารละลายมีค่าลดลง และส่งผลให้ปริมาณแคลเซียมไอออนและปริมาณแมกซีเซียมไอออน ที่เหลือในสารละลายมีค่าเพิ่มขึ้น ส่วนขนาดของตะกอนร่วมจะมีขนาดเล็กลง ส่งผลให้การตกตะกอนมีความเร็วลดลง เมื่อค่าความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์เพิ่มขึ้น หากกำหนดค่าความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์คงที่ อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของแคลเซียมต่อแมกนีเซียม ในสารตั้งต้นที่สูงส่งผลให้ค่า pH ของการเกิดตะกอนร่วมมีค่าต่ำลง ทำให้ปริมาณแคลเซียมคงเหลือในสารละลายมากขึ้น ในขณะที่ปริมาณแมกนีเซียมในสารละลายลดต่ำลง แต่จะได้ตะกอนขนาดใหญ่และตกตะกอนเร็วขึ้น
Other Abstract: Effect of sodium chloride on the co-precipitation of calcium and magnesium ions as calcium carbonate and magnesium hydroxide was studied. It was found that the increase of sodium chloride concentration resulted in lower pH and higher residual calcium and magnesium ions. In addition, the size of co-precipitated crystal became smaller, resulting in slower sedimentation. If the sodium chloride concentration was kept constant, it was found that higher calcium proportion in co-precipitation led to lower pH and residual magnesium ion whereas the residual calcium ion became higher and larger crystals were formed resulting in faster sedimentation.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4371
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1288
ISBN: 9745328995
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1288
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jutamart.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.