Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพักตร์ อุทิศen_US
dc.contributor.advisorสุนิศา สุขตระกูลen_US
dc.contributor.authorณัฐกฤตา ขันตีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:44:10Z
dc.date.available2015-06-24T06:44:10Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43726
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะถอนพิษสุรา และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ เพศ ประวัติการเกิดภาวะถอนพิษสุรา ประวัติการชัก ความดันโลหิตสูง โรคแทรกซ้อนทางกาย การใช้สารเสพติดร่วม แบบแผนการดื่ม ปริมาณการดื่ม ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า การคาดการณ์ความรุนแรงของภาวะถอนพิษสุราและ การสนับสนุนทางสังคม กับภาวะถอนพิษสุราในผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์ วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน[DSM-IV]ว่าเสพติดแอลกอฮอล์(Alcohol dependence:F.10.2)ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในระยะบำบัดด้วยยา สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี กรมการแพทย์ จำนวน 208 คน ที่ได้มาจากการคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนดไว้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบประเมิน 6 ส่วน ได้แก่แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะถอนพิษสุรา แบบประเมินความวิตกกังวล แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินการคาดการณ์ต่อความรุนแรงของภาวะถอนพิษสุรา แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม เครื่องมือทุกชุดได้รับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของเครื่องมือทุกชุด ยกเว้นแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล มีค่าเท่ากับ .80, .88, .90, และ.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และด้วยสถิติค่าประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้1. ผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์ระยะบำบัดด้วยยามีภาวะถอนพิษสุราในระดับปานกลางมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 46.22. 2. อายุ การสนับสนุนทางสังคมโดยรวมและรายด้านอารมณ์ แบบแผนการดื่ม ความดันโลหิตขณะแรกรับ ประวัติการเกิดภาวะถอนพิษสุรา โรคแทรกซ้อนทางกาย (ความดันโลหิตสูง) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ภาวะถอนพิษสุราของผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05(r=.221,r=.159)( =7.00)( =10.900) (p=.162,.161,.144,.246,p<.01) 3.เพศ การใช้สารเสพติดร่วม ประวัติการชัก โรคหัวใจ ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะถอนพิษสุราของผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to examine the alcohol withdrawal of Alcoholic receiving inpatient detoxification,and its correlation with gender,age, history alcohol withdrawal, history seizure with alcohol withdrawal, high bloodpressure, compication,co-addic, pattenrs of drink,alcohol consumption, Anxiety ,depression, Symptom Expectancy and Severity and social support.The sample consisted of 208 alcoholics receiving inpatient detoxification, selected by special sampling at the inpatient detoxification. The data collection instruement were used by the purposive samplingquestionnaire, Clinical Institute Withdrawal Scale for Alcohol-Revised (CIWA-Ar), The State-Trait Anxiety Inventory-STAI, Beck Depression Inventory(BDI), Symptom Expectancy and Severity Questionnair (SEAS), and social support.The instruments’ reliability by Cronbach’s Alpha Coefficient: were between .80,.88,.90,.82 .Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation Coefficient and Chi square.The results were as follow:1. Alcoholics receiving inpatient detoxification at moderate level (X̅=46.2,S.D=5) 46.2%.2. Age and total social support were cassifily Emotional Support, pattens of drink, bloodpressure, history alcohol withdrawa, compication (hypertention) positively correlated with mild alcohol withdrawal level at the significant level of .05 (r=.221,r=.159)( =7.00)( =10.900) (p =.162,.161,.144,.246,p<.01). 3. Gender.co-addic and history seizure wer not correlaye with alcohol withdrawal in person with alcohol dependence.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1157-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพิษสุราเรื้อรัง -- ผู้ป่วย
dc.subjectAlcoholism -- Patients
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะถอนพิษสุราของผู้ป่วยเสพติดแอลกอฮอล์en_US
dc.title.alternativeSELECTED FACTORS RELATED TO ALCOHOL WITHDRAWAL IN PERSON WITH ALCOHO DEPENDENCEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpaktr_uthis@hotmail.comen_US
dc.email.advisorSunisa.Su@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1157-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5377826536.pdf7.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.