Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43771
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิรงรอง รามสูตen_US
dc.contributor.advisorธาตรี ใต้ฟ้าพูลen_US
dc.contributor.authorวงศกร ศันสนียรัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:44:40Z
dc.date.available2015-06-24T06:44:40Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43771
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ของนักข่าวโทรทัศน์ภาคสนาม 2.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงการสร้างตราสินค้าบุคคลผ่านการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ของนักข่าวโทรทัศน์ภาคสนาม การวิจัยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากหน้าโปรไฟล์ทวิตเตอร์ของนักข่าวโทรทัศน์ภาคสนาม 3 คน คือ 1.) นายนภพัฒน์จักษ์ อัตตนนท์ (@noppatjak) 2.) นางสาวฐปณีย์ เอียดศรีไชย (@thapanee3miti) 3.) นายภูชนก รักไทย (@poohtnn24) และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) นักข่าวโทรทัศน์ภาคสนามที่เป็นกรณีศึกษา 3 คน โดยเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2555 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,794 ทวีต ผลการวิจัยพบว่า นักข่าวโทรทัศน์ภาคสนามที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 3 คน มีรูปแบบการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ภูชนก รักไทย (@poohtnn24) และฐปณีย์ เอียดศรีไชย (@thapanee3miti) ใช้รูปแบบการทวีตมากที่สุด โดย @poohtnn24 มีสัดส่วนของการสื่อสารด้วยการทวีต ร้อยละ 80.77 ของการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาทั้งหมด ขณะที่ @thapanee3miti มีสัดส่วนของการสื่อสารด้วยการทวีตอยู่ที่ คือ ร้อยละ 67.87 ส่วนนภพัฒน์จักษ์ อัตตนนท์ (@noppatjak) ใช้รูปแบบการสื่อสารด้วยการรีพลายมากที่สุด โดยมีสัดส่วนการรีพลาย คือ ร้อยละ 45.98 ของการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาทั้งหมด ในส่วนของวัตถุประสงค์การใช้งานทวิตเตอร์ของนักข่าวทั้ง 3 คน มีลักษณะร่วมกันในวัตถุประสงค์ด้านเพื่อการรายงานข่าวเผยแพร่ข่าว และการใช้งานส่วนตัว ซึ่ง @noppatjak มีวัตถุประสงค์การใช้ที่แตกต่างจากคนอื่น คือ การสนทนาสร้างปฏิสัมพันธ์ กับผู้ติดตามในเครือข่ายทวิตเตอร์ในขณะที่ @thapanee3miti และ @poohtnn24 สะท้อนให้เห็นวัตถุประสงค์การใช้งานเพื่อการให้ข้อมูลที่มา ภูมิหลังของข่าว ในส่วนของการสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ที่สะท้อนถึงองค์ประกอบการสร้างตราสินค้าบุคคล พบว่า @noppatjak มีองค์ประกอบด้านที่แสดงเด่นชัด ได้แก่ ค่านิยมของสังคม ปฏิกิริยาตอบกลับและบริบท และช่องทางการสื่อสาร ขณะที่ @thapanee3miti มีองค์ประกอบที่โดดเด่น ได้แก่ ค่านิยมของสังคม สัญลักษณ์ และประสบการณ์ ส่วน @poohtnn24 มีองค์ประกอบที่โดดเด่น ได้แก่ ความรู้ ค่านิยมของสังคม และประสบการณ์en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to study and analyze the patterns of Twitter communication by television field reporters; 2) to study the building of personal brand through Twitter communication by television field reporters. Research methodologies include content analysis of Twitter profiles of three selected reporters -- Noppatjak Attanon (@noppatjak), Thapanee Ietsrichai (@thapanee3miti), and Poochanok Rukthai (@poohtnn24), and in-depth interview with three reporters. Data collection covered the period from July, 1 2012 to October, 31 2012, totalling 1,794 tweets. The results show distinct patterns of communication of the three selected reporters. Poochanok Rukthai (@poohtnn24) and Thapanee Ietsrichai (@thapanee3miti) communicated mainly through tweets which account for 80.77 percent of their total Twitter communication for @poohtnn24and 67.87 percent for @thapanee3miti, respectively. Meawhile, Noppatjak Attanon (@noppatjak)’s twitter communication was mainly in the form of reply -- 45.98 percent of his total Twitter communication. As for objectives of Twitter communication, all three reporters share common objectives for dissemination of news and personal use. But @noppatjak departed from the other two in his tendency to use it for interactive conversation with his followers in the network. Meanwhile, @thapanee3miti and @poohtnn24 tend to use Twitter for providing background information of the news more. With respect to the building of personal brand via Twitter communication, @noppatjak exhibited these elements of branding – social values, interactivity, and channels of communication while @thapanee3miti showed social values, signals, and experience, and @poohtnn24 brandished upon knowledge, the social values, and professional experiences more.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1240-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์
dc.subjectนักข่าวโทรทัศน์
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์
dc.subjectBranding (Marketing)
dc.subjectTelevision journalists
dc.subjectSocial media
dc.titleการสร้างตราสินค้าบุคคลของนักข่าวโทรทัศน์ภาคสนามผ่านทวิตเตอร์en_US
dc.title.alternativeTHE BUILDING OF PERSONAL BRAND BY TELEVISION FIELD REPORTERS THROUGH TWITTERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpirongrong.r@gmail.comen_US
dc.email.advisortatri@hotmail.com
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1240-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5384689028.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.