Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพิฐ วงศ์ปัญญาen_US
dc.contributor.authorกฤตพร เสาวภาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialไทย
dc.coverage.spatialสิงคโปร์
dc.date.accessioned2015-06-24T06:45:58Z
dc.date.available2015-06-24T06:45:58Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43960
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่กำหนดการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของไทยใน 21 ประเทศผู้รับการลงทุน และสิงคโปร์ใน 19 ประเทศผู้รับการลงทุน โดยการใช้การประมาณแบบจำลองของ Panel data ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี 2006-2012 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนจากประเทศไทยและสิงคโปร์ในกรณีที่เป็นปัจจัยดึงจากประเทศผู้รับการลงทุนและเพื่อจำแนกปัจจัยดังกล่าวออกเป็น “ปัจจัยผลัก” และ “ปัจจัยดึง” จึงได้ทำการศึกษาปัจจัยดังกล่าวในรูปของ Relative Term ผลการศึกษาพบว่าสำหรับประเทศไทยปัจจัยที่เป็นปัจจัยดึงต่อการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ ได้แก่ ขนาดของตลาดในประเทศผู้รับการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ในประเทศผู้รับการลงทุน ปัจจัยผลัก ได้แก่ กำลังซื้อของตลาด ระดับโครงสร้างพื้นฐาน และความมีเสถียรภาพทางการเมือง ส่วนปัจจัยดึงสำหรับสิงคโปร์คือ ขนาดของตลาดภายในประเทศผู้รับการลงทุน ระดับการเปิดประเทศ ต้นทุนทางการเงิน ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ในประเทศผู้รับการลงทุน ส่วนปัจจัยผลักของสิงคโปร์ได้แก่ ระดับโครงสร้างพื้นฐาน และความมีเสถียรภาพทางการเมือง ส่วนปัจจัยทางด้านต้นทุนการดำเนินงานนั้นไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นปัจจัยผลักหรือปัจจัยดึงแต่มีอิทธิพลต่อการลงทุนของไทยและสิงคโปร์ โดย OFDI ไทยและสิงคโปร์มีแนวโน้มเข้าไปลงทุนในประเทศที่มีต้นทุนทางการเงินที่ต่ำกว่า ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริม OFDI นอกจากรัฐบาลจะควรส่งเสริมในแง่ของปัจจัยทางเศรษฐกิจ แล้วรัฐยังควรรักษาเสถียรภาพการเมือง จัดสรรโครงสร้างพื้นฐานที่ดีในประเทศ และการดำเนินด้านนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศควบคู่ไปด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to investigate the determinants of Thailand and Singapore Outward foreign direct investment (OFDI) in 21 host countries for Thailand and 19 host countries for Singapore from the selected variables. With the help of panel data for the most recent period 2006-2012, this study attempts to examine the host country determinants of outward FDI and tries to classify these variables into “push” factor and “pull” factor. The empirical results indicate that host countries’ market size, capital cost, economics stability and rich indigenous resource in host country are pull factors that attract Thailand’s OFDI and Thailand’s push factors are market demand, infrastructure and political stability. Meanwhile, Singapore’s FDI are attracted to countries with large market size, high internationalization, low capital cost, economics stability and rich indigenous resource in host country. Singapore’s push factors are good infrastructure and political stability. Thus, the key to evolving Thailand and Singapore OFDI can be achieves through suitable governance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1413-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการลงทุนทางตรงของต่างประเทศ -- ไทย
dc.subjectการลงทุนทางตรงของต่างประเทศ -- สิงคโปร์
dc.subjectForeign direct investments -- Thailand
dc.subjectForeign direct investments -- Singapore
dc.titleปัจจัยกำหนดการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของไทยและสิงคโปร์en_US
dc.title.alternativeThe Determinants of Thailand and Singapore Outward Foreign Direct Investmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNipit.W@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1413-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5585151029.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.