Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43991
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์en_US
dc.contributor.authorวิศรุต วิทูรธรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:46:04Z
dc.date.available2015-06-24T06:46:04Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43991
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractในปัจจุบัน ความต้องการกำลังไฟฟ้าในประเทศไทยได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้การวางแผนการสร้างสถานีไฟฟ้ามีความสำคัญ เนื่องจากสถานีไฟฟ้าเป็นส่วนที่สำคัญในระบบไฟฟ้ากำลัง เพราะมีหน้าที่หลักในการเปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งาน โดยรูปแบบการจัดเรียงบัสภายในสถานีไฟฟ้าที่มีความเชื่อถือได้ที่ดี จะสามารถช่วยลดการเกิดเหตุการณ์การล้มเหลวของอุปกรณ์ที่มีผลต่อการจ่ายกำลังไฟฟ้าของระบบได้ อย่างไรก็ตามเนื่องจาก การเพิ่มขีดความสามารถในการจ่ายกำลังไฟฟ้า เป็นสิ่งที่ไม่สามารถทำได้ทันที ดังนั้น สถานีไฟฟ้าจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเตรียมพร้อมการจ่ายกำลังไฟฟ้าดังกล่าว เพื่อรองรับการเจริญเติบโตของโหลดในอนาคต ด้วยเหตุผลดังกล่าว วิทยานิพนธ์นี้จะนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับ การประเมินความเชื่อถือได้ของสถานีไฟฟ้า สำหรับในแต่ละรูปแบบการจัดเรียงบัส ด้วยวิธีการคำนวณการไหลของกำลังไฟฟ้า แบบนิวตัน-ราฟสัน ประกอบกับวิธีการวิเคราะห์แบบมินิมัลคัตเซต โดยพิจารณาถึงการเจริญเติบโตของโหลดเป็นรายปี ทั้งนี้ การเจริญเติบโตของโหลดดังกล่าว สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ การเจริญเติบโตของโหลดในพื้นที่เดียวกัน และการเจริญเติบโตของโหลดในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้น ค่าดัชนีความเชื่อถือได้ที่คำนวณได้ ได้แก่ LOLF, LOLP และ EENS สามารถนำมาประเมินเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเปรียบเทียบ สำหรับการเลือกรูปแบบการสร้างสถานีไฟฟ้าที่มีความเชื่อถือได้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของโหลดที่พิจารณาen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, electrical power demand of Thailand keeps rising continuously and consequently increases the importance of electrical substation construction plan. Electrical substation plays an important role in electrical power system as it changes electrical voltage from a very high level to a lower level. By utilizing a good bus configuration of electrical substation, electricity interruption caused by a failed device can be reduced. Because suddenly increasing power capacity of substation is not possible, necessity of future – load demand prediction cannot be overlooked. From all the mentioned reasons, this thesis proposes a reliability evaluation method of various types of bus configurations in electrical substations. The reliability is evaluated by using Newton-Raphson power flow calculation with minimal cut sets by considering the impact on reliability of electrical substation due to load growth in each year. In addition, the load growth can be categorized into two cases, i.e. load growth in the same area and load growth in the different areas. Finally, the reliability of all bus configuration types in electrical substations are compared by the following indices; LOLF, LOLP, and EENS.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1455-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการส่งกำลังไฟฟ้า
dc.subjectสถานีไฟฟ้าย่อย
dc.subjectElectric power transmission
dc.subjectElectric substations
dc.titleการประเมินความเชื่อถือได้ของสถานีไฟฟ้าโดยพิจารณาถึงการเจริญเติบโตของโหลดen_US
dc.title.alternativeRELIABILITY EVALUATION OF ELECTRICAL SUBSTATIONS CONSIDERING LOAD GROWTHen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsurachai.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1455-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670384421.pdf10.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.