Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์-
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ธรรมสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-16T11:26:12Z-
dc.date.available2007-10-16T11:26:12Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743346848-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4405-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ใช้แบบแผนการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการดูแลตนเองตามการรายงานของผู้สูงอายุ ก่อนและหลังการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60-79 ปี จำนวน 60 คน ที่มาใช้บริการ ณ โรงพยาบาลเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ประเภท คือ เครื่องมือในการทดลองและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือในการทดลองประกอบด้วย 3 ชุด คือ โครงการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คู่มือการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ และแบบสังเกตพยาบาลวิชาชีพให้ความรู้ผู้สูงอายุ ส่วนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบประเมินการดูแลตนเองตามการรายงานของผู้สูงอายุที่มีค่าความเที่ยง .88 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ การดูแลตนเองตามการรายงานของผู้สูงอายุ หลังการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับพยาบาลวิชาชีพ สูงกว่าก่อนการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to compare self-care reported by elderly clients before and after using health promotion training program for staff nurses. The sample consisted of 60 elderly clients with 60-79 years old who visited at Khoayoi hospital Petchaburi Province. The instrument using for this study were devided into 2 types; treatment instrument and assessment for self care which reported by elderly clients. The treatment instrument consisted of 3 parts; health promotion elderly clients training program, guideline in self care for elderly and observation form teaching of the staff nurses. The reliability of the assessment for self care was .88. The result of the study is the following: Self care as reported by elderly clients after using health promotion training program for staff nurses was significant increased at the .05 level.en
dc.format.extent6931976 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาล -- การฝึกอบรมen
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.titleผลของการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับพยาบาลวิชาชีพต่อการดูแลตนเองตามการรายงานของผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeThe Effect of health promotion training program for staff nurses on self care as reported by elderly clientsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPuangtip.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kunnika.pdf6.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.