Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44068
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทศพล ปิ่นแก้ว-
dc.contributor.authorจุลชิน เฉินบำรุง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-07-20T03:11:14Z-
dc.date.available2015-07-20T03:11:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44068-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractเดิมเชื่อกันว่าอาคารในพื้นที่กรุงเทพมหานครปลอดภัยจากแผ่นดินไหว ทำให้การออกแบบก่อสร้างไม่ได้คำนึงถึงผลของแรงแผ่นดินไหว แต่จากข้อมูลทางธรณีวิทยาในปัจจุบันพบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในบริเวณจังหวัดใกล้เคียงซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างอาคารในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยนี้จึงศึกษาความเป็นไปได้ในการป้องกันภัยแผ่นดินไหวของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยระบบมวลหน่วงปรับค่าแบบแพสสีฟที่นิยมติดตั้งในอาคารสูงซึ่งมีความชะลูดเพื่อลดการสั่นไหวของโครงสร้างจากแรงลม โดยจะคำนึงถึงกรณีที่เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงจนโครงสร้างได้รับความเสียหาย ทำให้โครงสร้างให้มีพฤติกรรมในช่วงอินอีลาสติก ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของระบบมวลหน่วงที่ปรับค่าไว้ การศึกษาจะพิจารณาเปรียบเทียบพฤติกรรมและระดับความเสียหายของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตัวอย่างสูง 20 ชั้น ที่ติดตั้งและไม่ได้ติดตั้งระบบมวลหน่วงปรับค่าแบบแพสสีฟภายใต้แผ่นดินไหว โดยอาศัยการวิเคราะห์โครงสร้างเชิงเวลาแบบอินอีลาสติก (inelastic dynamic analysis) ด้วยโปรแกรม Perform 3D ซึ่งผลการศึกษาที่ได้แสดงให้เห็นว่าระบบมวลหน่วงปรับค่าที่ออกแบบอย่างเหมาะสมสามารถลดความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากแผ่นดินไหวรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากคลื่นแผ่นดินไหวที่มากระทำมีความถี่เด่นชัดใกล้เคียงกับการสั่นพื้นฐานของอาคารและมีช่วงระยะเวลาของคลื่นที่ค่อนข้างยาวen_US
dc.description.abstractalternativeExisting buildings in Bangkok were not designed for earthquake, because the city was believed not to be a seismic prone area. Unfortunately, recent seismic data indicate the possibility of occurrence of strong earthquakes in surrounding areas and may cause damage to buildings in the city. Therefore, this research aims to study the use of tuned mass dampers (TMDs) which are commonly installed to suppress the wind-induced vibration to apply for seismic protection of reinforced concrete buildings. However, under strong earthquake, the structures may behave in the inelastic ranges and consequently may significantly degrade the performance of the TMDs. In this research, the vibration and damage characteristics of a 20-story buildings under various earthquake ground motions will be considered and use to compare between the buildings with TMDs and without TMDs. The Perform3D program is adopted to analyze the inelastic dynamic behavior of the buildings. The obtained results reveal that the properly designed TMD can effectively reduce the damages of the building if the ground motions have predominant frequency close to that of the building and long duration.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.414-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก -- ผลกระทบจากแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectอาคารสูง -- ผลกระทบจากแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectวิศวกรรมแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectการออกแบบต้านทานแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectEarthquakesen_US
dc.subjectBuildings, Reinforced concrete -- Earthquake effectsen_US
dc.subjectTall buildings -- Earthquake effectsen_US
dc.subjectEarthquake engineeringen_US
dc.subjectEarthquake resistant designen_US
dc.titleการป้องกันภัยแผ่นดินไหวของอาคารสูงคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยมวลหน่วงปรับค่าen_US
dc.title.alternativeSeismic protection of tall R/C buildings using tuned mass dampersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTospol.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.414-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Julachin_ch.pdf5.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.