Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorพิชญ์ ปิยะปราโมทย์-
dc.contributor.authorรวิศ วงศ์พรหมเมฆ-
dc.contributor.authorรังสิภรณ์ ศรีเพ็ญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-24T03:02:38Z-
dc.date.available2015-07-24T03:02:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 224-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44155-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractโครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบมุ่งความสมบูรณ์แบบ ความฉลาดทางอารมณ์ การได้รับผลป้อนกลับและความขัดแย้งในงาน ต่อความขัดแย้งในความสัมพันธ์ ใช้วิธีการอ่านสถานการณ์จำลอง โดยมีผู้ร่วมงานวิจัยเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 172 คน พบว่า ความขัดแย้งในความสัมพันธ์ของกลุ่มจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความขัดแย้งในงาน (β= .189, p < .01) บุคลิกภาพแบบมุ่งความสมบูรณ์แบบด้านมาตรฐานส่วนตน (β= .154, p < .05) และการได้รับผลป้อนกลับ (β= -.150, p < .01) โดยมีบุคลิกภาพแบบมุ่งความสมบูรณ์แบบด้านความสงสัยและความกังวลในข้อผิดพลาดของตนเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับผลป้อนกลับและความขัดแย้งในความสัมพันธ์ (β= .154 ,p< .05) เมื่อบุคคลมีความสงสัยและความกังวลในข้อผิดพลาดของตนสูง เวลาได้รับผลป้อนกลับที่ไม่ดีจะเกิดความขัดแย้งในความสัมพันธ์ตามมาน้อย และเมื่อบุคคลมีความสงสัยและความกังวลในข้อผิดพลาดของตนต่ำ เวลาได้รับผลป้อนกลับที่ไม่ดีจะเกิดความขัดแย้งในความสัมพันธ์ตามมามากen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the roles of perfectionism, emotional intelligence, performance feedback, and task conflict on relationship conflict. With a sample of one hundred and seventy-two undergraduate students in Chulalongkorn University, the results have shown that whether relationship conflict would be high or low depended on task conflict (β= .189, p < .01) personal standard (β= .154, p < .05) and performance feedback (β= -.150, p < .01), and perfectionism moderated the relationship between performance feedback and relationship conflict (β = .154, p < .05). Specifically, when a person had high doubt and concern over one’s own mistakes, poor performance feedback would predict less relationship conflict. On the contrary, a person who had low doubt and concern over mistakes rated more relationship conflict after receiving poor performance feedback.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการยึดติดความสมบูรณ์แบบen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectความขัดแย้ง (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectความขัดแย้งระหว่างบุคคลen_US
dc.subjectบุคลิกภาพen_US
dc.subjectPerfectionism (Personality trait)en_US
dc.subjectEmotional intelligenceen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectConflict (Psychology)en_US
dc.subjectInterpersonal conflicten_US
dc.subjectPersonalityen_US
dc.titleความขัดแย้งในความสัมพันธ์ : บทบาทของบุคลิกภาพแบบมุ่งความสมบูรณ์แบบ ความฉลาดทางอารมณ์ ความขัดแย้งในงาน และการได้รับผลป้อนกลับen_US
dc.title.alternativeRelationship conflict : the roles of perfectionism, emotional intelligence, task conflict, and performance feedbacken_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pitch_pi.pdf830.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.