Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูพงศ์ ปัญจมะวัต-
dc.contributor.authorพงศ์ภัทร ธนะสินธนา-
dc.contributor.authorภัทรา ธรรมธาดาตระกูล-
dc.contributor.authorหิรัญญา คะตา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-29T01:40:24Z-
dc.date.available2015-07-29T01:40:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 221-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44174-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต กลุ่มตัวอย่างในการดำเนินการทดลอง คือ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 60 คน โดยแบ่งเป็นผู้ร่วมการทดลองกลุ่มควบคุม 30 คน และผู้ร่วมการทดลองกลุ่มทดลอง 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ มาตรวัดความคิดสร้างสรรค์ด้านภาษาของ อารี พันธ์มณีกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการคิดหน่วยภาษาแบบอเนกนัย ได้แก่ เกมนึกคำ และเกม 20 คำถาม และกิจกรรมควบคุม ได้แก่ เกมหมากฮอส วิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดสร้างสรรค์ที่ได้มาจากแบบวัด โดยการทดสอบค่าที (Dependent t-test) และ (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่ากิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สามารถเพิ่มระดับความคิดสร้างสรรค์ของผู้ร่วมการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ หลังได้รับกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนได้รับกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .001 2) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านความคล่อง หลังได้รับกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนได้รับกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .001 3) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านริเริ่ม หลังได้รับกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนได้รับกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .001 4) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านความยืดหยุ่น หลังได้รับกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สูงกว่าก่อนได้รับกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .001en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to develop activities to promote the creativity of undergraduate students. Samples in the laboratory of Chulalongkorn University. Undergraduates, 60 men were divided into a subject to a control group of 30 people and join the experimental group 30 people. The tools used in this research are Measure CreativityLanguage side by AreePunmanee. Activities to promote creativity, including units of multiple languages are Imagine the game and The game 20 questions and control activities, including the game of checkers. Analysis method is tested to compare the different average creativity (Dependent t-test) and (Independent t-test). The results showed that promotes creative events to increase the creativity of the subject as statistically significant. 1) Creativity scores after promoting creativity activities are more than before getting promoting, significant at .001 levels.2) Fluencycreativity scores after promoting creativity activities are more than before getting promoting, significant at .001 levels. 3) Initiative creativity scores after promoting creativity activities are more than before getting promoting, significant at .001 levels. 4) Flexibility creativity scores after promoting creativity activities are more than before getting promoting, significant at .001 levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์เชิงภาษาศาสตร์en_US
dc.subjectความคิดและการคิดen_US
dc.subjectภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยาen_US
dc.subjectเกมen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.subjectCreativity (Linguistics)en_US
dc.subjectThought and thinkingen_US
dc.subjectPsycholinguisticsen_US
dc.subjectGamesen_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการสอนความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการคิดหน่วยภาษาแบบอเนกนัยตามแนวคิดของกิลฟอร์ดen_US
dc.title.alternativeDeveloping programs to teach creativity by using a divergent production of semantic units (DMU) implied by Guilfrod’s concepten_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phongpat_th.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.