Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤพร สุตัณฑวิบูลย์-
dc.contributor.authorปวีณา ตั้งเลิศวิชชา-
dc.contributor.authorกมลพร คงนิลมณี-
dc.contributor.authorน้ำเต้ สีหมากสุก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-11T06:37:47Z-
dc.date.available2015-08-11T06:37:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.otherSepr 14/55 ค2.15-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44249-
dc.description.abstractการประคบร้อนและประคบเย็น เป็นวิธีการบรรเทาอาการฟกช้าวิธีหนึ่งที่ถือว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพและ เป็นที่นิยม แต่การประคบรูปแบบเดิมมีข้อจากัดอยู่หลายประการ ได้แก่ ไม่สะดวก มีความยุ่งยากในการเตรียมอุปกรณ์และไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิและระยะเวลาในการให้ความร้อนหรือเย็นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผ่นแปะผิวหนังที่สามารถเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสาหรับบรรเทาอาการฟกช้า โดยใช้กลไกของการเกิดปฏิกิริยาคายและดูดความร้อน เพื่อให้เกิดการปลดปล่อยอุณหภูมิร้อนและเย็นตามลาดับ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมี 2 ชุด คือ ชุดแผ่นแปะประคบร้อนและชุดแผ่นแปะประคบเย็น แต่ละชุดประกอบด้วย ส่วนที่หนึ่ง คือ แผ่นแปะผิวหนังที่มีลักษณะเป็นไฮโดรเจล ซึ่งมีพอลิเมอร์ 2 ชนิด คือ ไฮดรอกซีเอทธิลเซลลูโลส และเจละติน และส่วนที่สองเป็นซองบรรจุเกลือในรูปผงแห้งสาหรับประกอบเข้ากับส่วนที่หนึ่งเมื่อจะใช้งาน โดยชุดแผ่นแปะประคบร้อนจะใช้เกลือแคลเซียมคลอไรด์และชุดแผ่นแปะประคบเย็นจะใช้เกลือแอมโมเนียมไนเตรต สาหรับการพัฒนาตารับแผ่นแปะผิวหนัง ได้ทาการคัดเลือกชนิดของพอลิเมอร์ที่จะก่อไฮโดรเจลที่เหมาะสม ศึกษาผลของสัดส่วนและปริมาณของพอลิเมอร์ที่เลือกใช้ และผลของปริมาณเกลือที่เหมาะสมต่อปริมาณไฮโดรเจล ทาการประเมินลักษณะทางกายภาพ ปริมาณน้าในสูตรตารับไฮโดรเจล และศึกษาถึงลักษณะของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแผ่นแปะไฮโดรเจลเมื่อเกิดปฏิกิริยาคายหรือดูดความร้อนกับเกลือที่เลือกใช้ ผลการทดลองพบว่า สูตรแผ่นแปะไฮโดรเจลส่วนที่หนึ่งที่มีคุณสมบัติทางกายภาพที่ดี มีปริมาณน้าเหมาะสมและสามารถเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ตามต้องการ ประกอบด้วย ไฮดรอกซีเอทธิลเซลลูโลส 6.67% เจละติน 3.33% กลีเซอริน 2% เมทธิลพาราเบน 0.1% โพรพิลพาราเบน 0.02% โดยน้าหนัก และน้าเป็นส่วนที่เหลือ ปริมาณเกลือที่เหมาะสม คือ 8 กรัมต่อแผ่น โดยแผ่นแปะประคบร้อนสามารถให้อุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิผิวหนัง (33 องศาเซลเซียส) ได้นานกว่า 20 นาทีและให้อุณหภูมิสูงสุด 41.03 ± 0.05 องศาเซลเซียส และแผ่นแปะประคบเย็นสามารถให้อุณหภูมิที่ต่ากว่าอุณหภูมิผิวหนังได้นานกว่า 10 นาทีและให้อุณหภูมิต่าสุด 25.37 ± 0.05 องศาเซลเซียส และผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจทั้งในเรื่องระดับอุณหภูมิและระยะเวลาที่ผลิตภัณฑ์สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ แต่ทั้งนี้ควรมีการศึกษาในเรื่องความคงสภาพของผลิตภัณฑ์เพิ่มเติม และควรมีการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าใช้มากยิ่งขึ้นในอนาคตen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นปิดแผลen_US
dc.subjectแผลฟกช้ำ -- การรักษาen_US
dc.titleการพัฒนาแผ่นแปะผิวหนังที่สามารถเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสำหรับบรรเทาอาการฟกซ้ำen_US
dc.title.alternativeDevelopment of thermally modified topical patch for contusive reliefen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorNarueporn.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
praweena_tu.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.