Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบราลี ปัญญาวุธโธ-
dc.contributor.advisorธศิกานต์ แช่มช้อย-
dc.contributor.authorณัฐวรรณ ธีรวิชญกุล-
dc.contributor.authorชุติมน หิรัญนาท-
dc.contributor.authorณัฐธิดา กาศวิลาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-12T15:00:56Z-
dc.date.available2015-08-12T15:00:56Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.otherSepr 4/55 ค1.11-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44261-
dc.description.abstractColistin หรือ Polymyxin E เป็นยาต้านจุลชีพที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียแกรมลบในช่วง ค.ศ. 1980 แต่เนื่องจากมีรายงานการเกิดพิษต่อไต จึงทาให้ colistin ได้รับความนิยมลดลง แต่ในปัจจุบันมีการนา colistin กลับมาใช้อีกครั้ง เนื่องจากปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ เช่น Pseudomonas aeruginosa และ Acinetobacter baumannii เป็นต้น โดยมีการติดตามผลการใช้ยาและเฝ้าระวังการเกิดพิษต่อไตมากขึ้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยที่ใช้ยา colistin ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ได้รับยา colistin โดยวิธีการฉีดเข้าหลอดเลือดดา จานวนทั้งสิ้น 61 ราย และวิเคราะห์เพื่อหาปัจจัยที่ทาให้เกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยที่ใช้ยา colistin ด้วยสถิติ Logistic Regression โดยใช้โปรแกรม Statistical Package for Social Science (SPSS, version 17.0) ปัจจัยที่นามาวิเคราะห์ ได้แก่ อายุ, เพศ, ขนาดยาและระยะเวลาที่ผู้ป่วยได้รับยา, ระดับ albumin, ระดับ bilirubin, โรคที่เป็นร่วมด้วยและการใช้ยาที่ทาให้เกิดพิษต่อไตร่วมด้วย จากการศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยที่เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน 35 ราย (57%) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษต่อไต ได้แก่ ขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับ (p = 0.036) โดยสามารถทานายการเกิดพิษต่อไตจากการใช้ยาได้จากสมการ logit [p(renal toxicity)] = -1.313 + 0.006 x Dose จากผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่ได้รับยาในขนาดสูงจะมีความเสี่ยงในการเกิดพิษต่อไตเพิ่มขึ้น โดยขนาดยาที่เพิ่มขึ้น 100 มิลลิกรัม จะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดพิษต่อไต 1.82 เท่า ผลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถนาไปใช้ในการเฝ้าระวังการเกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยที่ใช้ยา colistinได้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเป็นพิษต่อไตen_US
dc.subjectยาโคลิสติน -- ผลข้างเคียงen_US
dc.subjectColistin -- Side effectsen_US
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยที่ใช้ยาโคลิสตินen_US
dc.title.alternativeRisk factors associated with colistin-induced nephrotoxicityen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nattawan_te.pdf911.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.