Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสตถิพงศ์ พิชัยสวัสดิ์-
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์-
dc.contributor.authorอนุวัฒน์ จันทร์โฮม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-14T06:37:32Z-
dc.date.available2015-08-14T06:37:32Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44271-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนมีการติดตั้งเข้ากับระบบจำหน่ายไฟฟ้ามากขึ้น และอาจทำให้เกิดการรบกวนต่อระบบส่งไฟฟ้าได้ ซึ่งการรบกวนดังกล่าวโดยทั่วไปไม่สามารถทำให้ระดับแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าเกิดการละเมิดของเขตแรงดันที่กำหนดได้ เนื่องจากระบบส่งไฟฟ้าเป็นระบบใหญ่ และยังมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่สามารถควบคุมระดับแรงดันได้ อย่างไรก็ตามการรบกวนที่สามารถเกิดขึ้นต่อระบบส่งไฟฟ้าได้ คือ การแกว่งของระดับแรงดันเนื่องจากผลของความไม่แน่นอนของพลังงานหมุนเวียน นั้นคือค่าของพลังงานหมุนเวียนสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงและทำให้ระดับแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าเกิดการแกว่งหรือมีการเปลี่ยนแปลงไปซึ่งการแก้ปัญหาเพื่อลดผลกระทบจากการแกว่งของระดับแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าดังกล่าวควรทำการแก้ไขได้ด้วยการควบคุมแรงดันในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่มีการเชื่อมต่อกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เหมาะสม เนื่องจากปัญหาต่อระดับแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าดังกล่าวแท้จริงแล้วเกิดในระบบจำหน่ายไฟฟ้าโดยส่งผลกระทบไปยังระบบส่งไฟฟ้าด้วย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้พิจารณาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนสองประเภท คือ แสงอาทิตย์ และลม เนื่องจากเป็นพลังงานที่สะอาดและไม่ก่อมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อมส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนจะพิจารณาให้เชื่อมต่อเข้ากับระบบจำหน่ายไฟฟ้าเท่านั้น เนื่องจากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนสามารถผลิตไฟฟ้าได้ในปริมาณน้อยทำให้ไม่นิยมติดตั้งในระบบส่งไฟฟ้าที่มีการส่งหรือจ่ายกำลังไฟฟ้าในปริมาณมาก นอกจากนั้นกระบวนการค้นหาแบบผสมระหว่างการค้นหาด้วยการเคลื่อนที่ของกลุ่มอนุภาคและการค้นหาแบบทาบูจะถูกประยุกต์ใช้เพื่อพิจารณาการควบคุมการแกว่งของระดับแรงดันในระบบจำหน่ายไฟฟ้า ซึ่งจะมีผลต่อการควบคุมการแกว่งของระดับแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeRenewable Energy (RE) sources are currently increasing for connecting to a distribution system. It can disturb a transmission system. For normal disturbance, it cannot affect voltage profile of the transmission system from exceeding the voltage limit. Because, typically, the transmission system is large and also has large generators that can control the voltages. However, the disturbance can certainly occur from voltage fluctuation that it is the result of uncertainty from RE. For example, the output change of RE can cause voltage profile fluctuation in transmission system. For reducing the problem of voltage fluctuation, system operators should optimally regulate voltage profile in the distribution system instead of regulating voltage profile in the transmission system, because voltage fluctuation actually occurs in the distribution system and affect to the transmission system. This thesis considers RE as only solar photovoltaic and wind energy because they are clean and nonpolluting energy. The RE sources are considered only for the connection in distribution system, because the electricity generation from RE is small. In addition, an hybrid optimization of particle swarm optimization and tabu search is applied to regulate the voltage fluctuation in the distribution system. It affects the regulation of voltage fluctuation in the transmission system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.488-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแหล่งพลังงานทดแทนen_US
dc.subjectการส่งกำลังไฟฟ้าen_US
dc.subjectการจ่ายพลังงานไฟฟ้าen_US
dc.subjectRenewable energy sourcesen_US
dc.subjectElectric power transmissionen_US
dc.subjectElectric power distributionen_US
dc.titleการควบคุมแรงดันในระบบส่งไฟฟ้าโดยพิจารณาความไม่แน่นอนของแหล่งพลังงานหมุนเวียนen_US
dc.title.alternativeVoltage regulation in the transmission system considering uncertainty of renewable energy sourcesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSotdhipong.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorsurachai.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.488-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anuwat_ch.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.