Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44345
Title: Effectiveness of ultrasound combine transcutaneous electrical nerve stimulation (TENS) in treatment of upper trapezius myofascial pain : a randomized controlled trial
Other Titles: ประสิทธิผลของการใช้เครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมกระแสไฟฟ้าบำบัด เพื่อรักษากลุ่มอาการปวดมัยโอฟาสเชียล ในกล้ามเนื้อแทรบปีเซียสส่วนบน : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม
Authors: Bootsakorn Loharjun
Email: Jariya.Bo@Chula.ac.th
Advisors: Jariya Boonhong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Midicine
Subjects: Myofascial pain syndromes -- Treatment
Transcutaneous electrical nerve stimulation -- Therapeutic use -- Effectiveness
กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด -- การรักษา
เครื่องเทนส์ -- การใช้รักษา -- ประสิทธิผล
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Myofascial pain syndrome (MPS) is one of the most common causes of musculoskeletal pain. Among various therapeutic approaches, the simultaneously combined treatment using ultrasound and transcutaneous electrical nerve stimulation (or US-TENS) may provide a novel curative strategy for MPS victims. We assessed the simultaneously combined treatment using ultrasound and transcutaneous electrical nerve stimulation (or US-TENS) in comparison with solely therapeutic ultrasound (US) for treatment of MPS in upper trapezius muscle. This study was a randomized single-blind placebo control trial, conducting at Sirindhorn National Medical Rehabilitaion Centre (SNMRC). The MPS patients who met the inclusion criteria of the study were randomized into two groups. Participants had received ten treatment sessions of US-TENS (intervention group) or US with sham TENS (control group) for two weeks. They were assessed for pressure pain threshold (PPT). Visual analogue scale at rest (VAS-R) and that during activity (VAS-A) on the first day and the day after ten treatment sessions were also evaluated by the blind assessor. Among 19 participants who received US-TENS showed increase of PPT by 9.6%, reduction of VAS-R and VAS-A by 57.0% and 56.2%, respectively. In control group, 20 participants had the elevation of PPT by 17.9%, decrease of VAS-R and VAS-A by 64.2% and 50.7%, respectively. However, the therapeutic tendencies between US-TENS and US were comparable by which there were no differences in average change of PPT and both VAS values (P > 0.05) between these two groups. Either US-TENS or therapeutic US was effective when being used as physiotherapy for acute and sub-acute MPS. However, there was no significant difference found between these two types of treatment.
Other Abstract: กลุ่มอาการปวดมัยโอฟาสเชียลพบเป็นสาเหตุของการปวดกล้ามเนื้อที่พบบ่อย การรักษาสามารถทำได้หลากหลายวิธี ปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือชนิดใหม่ที่สามารถให้การรักษาผู้ป่วยกลุ่มอาการดังกล่าวด้วยคลื่นเหนือเสียงหรือเครื่องอัลตร้าซาวน์และกระแสไฟฟ้าบำบัดในเวลาเดียวกัน (US-TENS) การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้เครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมกระแสไฟฟ้าบำบัด เพื่อรักษากลุ่มอาการปวดมัยโอฟาสเชียล ในกล้ามเนื้อแทรบปีเซียสส่วนบนโดยใช้การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ดำเนินการที่ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ผู้เข้าร่วมวิจัย จำนวน 40 รายซึ่งมีอาการปวดบ่า จากกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อแทรบปีเซียสส่วนบนตรงตามเกณฑ์คัดเข้า ได้รับการสุ่มเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มศึกษาเป็นกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมกระแสไฟฟ้าบำบัด กลุ่มควบคุมใช้เครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมภาวะกระแสหลอก (ปิดกระแสไฟฟ้า) ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการรักษาด้วยเครื่องมือตามกลุ่ม จนครบ 10 ครั้ง การศึกษานี้ใช้การตรวจประเมินค่าแรงกด คะแนนความปวด การนับจำนวนเม็ดยาบรรเทาปวดที่ใช้และการรักษาร่วมอื่นๆในช่วงที่เข้าร่วมวิจัยเป็นค่าพิจารณาผลการวิจัย โดยประเมินค่าแรงกดและคะแนนความปวดก่อนเริ่มรักษาและหลังสิ้นสุดการรักษา และนำมาคำนวณหาค่าการเปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองเหลือผู้เข้าร่วมวิจัย 19 ราย พบมีค่าแรงกดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.6 คะแนนความปวดขณะพักลดลง ร้อยละ 57 คะแนนความปวดขณะทำกิจกรรมลดลง ร้อยละ 56.2 คล้ายคลึงกับผลของกลุ่มควบคุมที่ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 20 คน มีค่าแรงกดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.9 คะแนนความปวดขณะพักลดลง ร้อยละ 64.2 คะแนนความปวดขณะทำกิจกรรมลดลง ร้อยละ 50.7 การศึกษานี้ไม่พบความแตกต่างของผลการรักษาด้วยเครื่องมือทั้งสองชนิด และยืนยันว่าทั้งเครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมกระแสไฟฟ้าบำบัดและเครื่องอัลตร้าซาวน์มีประสิทธิผลในการรักษากลุ่มอาการปวดมัยโอฟาสเชียลในระยะเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลัน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Development
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44345
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.648
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.648
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
boosakorn_lo.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.