Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44506
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีณา จีระแพทย์ | en_US |
dc.contributor.author | นลินี ศรีอ่อน | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-08-21T09:29:25Z | |
dc.date.available | 2015-08-21T09:29:25Z | |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44506 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายประสบการณ์การเป็นบิดาของวัยรุ่นชาย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาของ Husserl ผู้ให้ข้อมูลคือบิดาวัยรุ่นชาย ที่มีอายุระหว่าง 15 – 19 ปี มีภรรยาเป็นวัยรุ่น และมีประสบการณ์ในการดูแลบุตรหลังคลอด 3 ถึง 6 เดือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกร่วมกับการบันทึกเทป ข้อมูลอิ่มตัวจากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 14 ราย นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีของ Colaizzi ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ประสบการณ์การบิดาของวัยรุ่นชาย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก คือ 1) ความไม่พร้อมมีลูกให้บทเรียนกับชีวิติ โดยทำให้ต้องออกจากโรงเรียน รายได้ไม่พอใช้ทำงานเหนื่อยต้องทนไป และเรียนน้อยเลือกงานไม่ได้ 2) ชีวิตไม่เหมือนเดิมมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบ โดยนิสัยต้องเปลี่ยนไป เป็นผู้ใหญ่รับผิดชอบทำงานหาเงิน รักครอบครัวและสร้างอนาคตที่ดีขึ้น 3) ชีวิตก้าวผ่านได้ด้วยกำลังใจ ซึ่งมาในรูปแบบกำลังใจจากลูก กำลังใจจากครอบครัว และกำลังใจจากผู้คนรอบข้าง และ 4) ความช่วยเหลือเป็นสิ่งสำคัญ ทั้งด้านการสนับสนุนช่วยเลี้ยงดูลูก การช่วยเหลือด้านการเงิน และคำแนะนำที่ต้องการจากโรงพยาบาล ผลการวิจัยนี้ให้ภาพสะท้อนถึงประสบการณ์ของการเป็นบิดาของวัยรุ่นชาย ที่มีทั้งด้านลบและด้านบวก โดยมีปัจจัยขับเคลื่อนที่ทำให้การดำเนินชีวิตของการเป็นพ่อวัยรุ่นผ่านพ้นได้ในระยะเปลี่ยนผ่านจากการเป็นวัยรุ่นที่ไม่มีพันธะสู่การมีครอบครัวและลูกวัยทารกได้ ซึ่งพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลนี้ในการวางแนวทางให้การช่วยเหลือบิดาวัยรุ่นชาย โดยสร้างความตระหนักในปัญหาและการสนับสนุนที่ตอบสนองความต้องการของบิดาวัยรุ่น และนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | The research purpose was to describe fathering experiences of male teenagers. This research used qualitative method according to Husserl phenomenological approach. The informants were teenage fathers aged 15-19 who had teenage wives and had experiences in taking care of his baby after delivery between 3 to 6 months. Data were collected by using the in-depth interview with tape-record and found saturated after 14 informants. Tape-recorded interviews were transcribed verbatim. Data were analyzed by using Colaizzi’s method. The findings revealed that the fathering experiences of male teenagers could be categorized into 4 major themes as follows. 1) Unreadiness to have a child gave a life lesson by causing them early school leaving, inadequate income and having to work hard with no career choice due to low educational level. 2) Lives were not the same regarding duties and responsibilities; having to change their habits, becoming a responsible adult who had to work to earn an income, and love family and plan for a better future. 3) Lives could be moved on by moral support that came from the child, family members and surrounding people. 4) Essential support was requested in term of childrearing, financial support and hospital guidance. The study results gave the reflective pictures of fathering experiences of male teenagers in both negative and positive effects. The driving factors that made teenage fathers be able to move on in their life transition from being a person with no obligation to family ties with the child of their own were also vivified. Nurses can apply this information for planning a support for teenage fathers by building the awareness in the situations and supporting their needs. Furthermore, it can be used for future research. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.526 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วัยรุ่นชาย | |
dc.subject | ความเป็นบิดา | |
dc.subject | ปรากฏการณ์วิทยา | |
dc.subject | โรงพยาบาล -- บริการส่งเสริมสุขภาพ | |
dc.subject | Teenage boys | |
dc.subject | Fatherhood | |
dc.subject | Phenomenology | |
dc.subject | Hospitals -- Health promotion services | |
dc.title | ประสบการณ์การเป็นบิดาของวัยรุ่นชาย | en_US |
dc.title.alternative | FATHERING EXPERIENCE OF MALE TEENAGERS | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Veena.J@Chula.ac.th,J_veena@hotmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.526 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5477222536.pdf | 2.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.