Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุลen_US
dc.contributor.authorพจนารถ พิมน้อมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:29:54Z
dc.date.available2015-08-21T09:29:54Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44557
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractปัจจุบันจอ LED ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการแสดงข้อมูล และได้กลายมาเป็นตัวกลางสำคัญในการประมวลผลสารสนเทศของมนุษย์อีกด้วย ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการรับรู้ข้อมูล ได้แก่ ปัจจัยด้านระยะห่างการมอง ขนาดตัวอักษร มุมเอียง รวมถึงประเภทของ Target เพื่อประเมินเวลาในการตอบสนอง ผลการทดลองจากผู้เข้าร่วมงานวิจัยทั้ง 10 คน พบว่าสถานการณ์ที่ยากขึ้นส่งผลให้เวลาในการตอบสนองเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งหมายถึงสถานการณ์ที่มุมเอียงมีขนาดเพิ่มขึ้น รวมถึงขนาดความสูงของตัวอักษรที่มี Visual Angle ขนาดเล็ก และการรับรู้กลุ่มคำเมื่อเทียบกับตัวอักขระแบบเดี่ยว จึงทำให้เกิดความแตกต่างที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 สำหรับขนาดตัวอักษรที่อ่านได้อย่างชัดเจน พบว่าระยะห่างการมองไม่ส่งผลต่อเวลาในการตอบสนองอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ได้มีคำแนะนำในการออกแบบข้อมูลที่แสดงบนจอ โดยช่วงมุมเอียงที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 45 องศา และความสูงของตัวอักษรควรมี Visual Angle ตั้งแต่ 16 MOA ขึ้นไปen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the LED display has been used for visual presenting and became an important intermediary in human information processing. In this research considered various factors that affected the performance of data recognition include viewing distance, character size, oblique angle and types of target to assess the response time. The results from 10 participants showed that the required response time increased by more difficult situation. It referred to a situation which the oblique angle was increased, small character size and recognition of words as opposed to a single character. It showed a difference at 0.05 significant levels. At a readable character size, the viewing distance did not affect significantly. There was also a design recommendation for information display on the screen. The optimum oblique angle should not exceed 45 degrees, and the height of the character in visual angle should be more than 16 MOAen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.512-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้
dc.subjectการรับรู้ทางสายตา
dc.subjectการเห็น
dc.subjectตา -- กายวิภาค
dc.subjectสายตา -- การทดสอบ
dc.subjectPerception
dc.subjectVisual perception
dc.subjectVision
dc.subjectEye -- Anatomy
dc.subjectVision -- Testing
dc.titleผลกระทบของระยะห่างการมองหน้าจอ แอล.อี.ดี. ขนาดตัวอักษร และมุมเอียงของจอภาพที่มีต่อสมรรถนะการรับรู้ตัวอักขระบนจอen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF LED DISPLAY VIEWING DISTANCE, CHARACTER SIZE AND SCREEN OBLIQUE ANGLE ON CHARACTER PERCEPTION PERFORMANCEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhairoat.L@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.512-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570925921.pdf5.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.