Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44562
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | ปุณณะ ยศปัญญา | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-08-21T09:29:56Z | - |
dc.date.available | 2015-08-21T09:29:56Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44562 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | การถอดรหัสบาร์โค้ดจากภาพเป็นประเด็นวิจัยที่มีการศึกษาอย่างกว้างขวาง แนวทางที่งานวิจัยส่วนใหญ่นำเสนอจะอยู่บนพื้นฐานการกำหนดเส้นกราดตรวจที่ตัดผ่านบาร์โค้ดในภาพ แล้วถอดรหัสจากค่าระดับความเข้มที่อ่านได้ตามแนวเส้นกราดตรวจ วิธีการดังกล่าวอาจไม่มีประสิทธิผลเมื่อใช้กับภาพบาร์โค้ดที่ผิดรูปอย่างมาก เนื่องจากบาร์โค้ดลักษณะนั้นมักประสบปัญหาการถอดรหัสซึ่งเกิดจากความผิดเพี้ยนของมุมมอง แสงสะท้อน หรือเงาจากความผิดรูปของพื้นผิว เห็นได้ว่าการหาเส้นกราดตรวจผ่านบาร์โค้ดดังกล่าวโดยไม่ตัดผ่านบริเวณที่มีปัญหาเลยเป็นสิ่งที่กระทำได้ยากและเป็นไปไม่ได้ในบางกรณี วิทยานิพนธ์นี้จึงได้เสนอแนวทางใหม่โดยใช้วิถีกราดตรวจที่ไม่เป็นเส้นตรง เพื่อให้สามารถอ่านค่าระดับความเข้มโดยเลี่ยงบริเวณที่มีปัญหาได้ ในการหาวิถีกราดตรวจนี้ ค่าส่วนเบี่ยงเบนทิศทางการวางตัวฐานนิยมถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อใช้วัดความเป็นทิศทางเดียวกันของการวางตัวของบริเวณต่าง ๆ ในภาพบาร์โค้ด และเป็นข้อมูลในการสร้างวิถีกราดตรวจที่มีคุณภาพ ค่าระดับความเข้มที่อ่านได้จากวิถีกราดตรวจจะถูกนำไปจับคู่กับแม่แบบพลวัตในลำดับขั้นตอนถัดไปของการถอดรหัสผลลัพธ์ ประสิทธิผลของวิธีการที่เสนอได้ถูกอภิปราย ทั้งนี้ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเทคนิคที่นำเสนอสามารถถอดรหัสภาพบาร์โค้ดผิดรูปสูงที่เลือกมาเป็นกรณีทดสอบได้อย่างถูกต้อง | en_US |
dc.description.abstractalternative | Image-based barcode decoding is a research problem that has been extensively studied. Approaches presented by most of the previous work are based on determining a scanline that passes through the barcode in the image and decoding with the intensity values derived along the scanline. When dealing with highly deformed barcode images, these approaches are likely to be ineffective, as they are often subject to decoding problems owing to perspective distortion, reflections, or shadows from deformed surfaces. Finding a scanline that passes through the barcode without crossing over problematic regions becomes a hard problem, if not impossible in some cases. This thesis thus proposes a novel approach using a non-linear scanpath attempting to avoid problematic regions so that the intensity values could be collected. In finding a scanpath, the measure of local orientedness, called Modal Orientation Deviation (MOD), is introduced and used to determine barcode regions that will produce a quality scanpath. The values of intensity levels sampled from the resulting scanpath are then matched with dynamic templates in the subsequent decoding step. The effectiveness of the proposed method is also discussed. The experimental results show that challenging deformed barcode images selected as test cases can be correctly decoded with the presented technique. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การถอดรหัสภาพบาร์โค้ดบนพื้นผิวผิดรูป | en_US |
dc.title.alternative | Decoding Barcode Images on Deformed Surfaces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Yachai.L@Chula.ac.th,limpyac@gmail.com | en_US |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5571022321.pdf | 2.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.