Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมาen_US
dc.contributor.authorณิรันตรี ใจหงอกen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:30:53Z-
dc.date.available2015-08-21T09:30:53Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44669-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการงานบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (PM) โดยศึกษาถึงขั้นตอนพื้นฐานของกระบวนการทำงาน และประยุกต์ใช้ทฤษฎีการบำรุงรักษาเชิงทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance, TPM) กับขั้นตอนการจัดตารางงาน (Scheduling) เพื่อแก้ไข 2 ปัญหาหลัก โดยปัญหาแรกคือ ค่าความแปรปรวนของเวลาที่มีค่าสูง ในขั้นตอนของการเริ่มเข้าดำเนินงาน PM เมื่อเทียบกับแผนงานที่กำหนด โดยมีค่าเท่ากับ 444.60 ชั่วโมง2 และค่าความแปรปรวนในขั้นตอนของการลงบันทึกข้อมูลงานซ่อมเพื่อปิดงาน PM ในระบบ โดยมีค่าเท่ากับ 1,383.53 ชั่วโมง2 ปัญหาต่อมาคือ การที่ค่าเปอร์เซ็นต์ Man Hour Utilization ของการดำเนินงาน PM ไม่สมดุล และมีค่าต่ำกว่า 20% สาเหตุจากปัญหาทั้งสองส่งผลให้ PM Plan Compliance มีค่าเท่ากับ 41.68% ผู้วิจัยได้ใช้แนวทางการปรับปรุง โดยเริ่มจากขั้นตอน Plan Do Check Action ตามทฤษฎีของ Deming เพื่อพัฒนาแนวทางปฏิบัติงานของกระบวนการงานบำรุงรักษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และแก้ปัญหาของการสื่อสารที่ไม่ทั่วถึงและล่าช้าโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมของกระบวนการปรับปรุงในงานวิจัยนี้ ผลที่ได้จากงานวิจัยคือ 1) ค่าความแปรปรวนของเวลาในการเริ่มงาน PM ตามแผนงานที่กำหนด มีค่าลดลง โดยมีค่าเท่ากับ 35.75 ชั่วโมง2 และขั้นตอนการลงบันทึกข้อมูลงานซ่อมเพื่อปิดงาน PM ในระบบลดลง โดยมีค่าเท่ากับ 171.66 ชั่วโมง2 และ 2) ค่าเปอร์เซ็นต์ Man Hour Utilization ของงาน PM เฉลี่ย โดยมีค่าท่ากับ 31.7 % อีกทั้งยังมีความสมดุลของการใช้ทรัพยากรแรงงานที่ดีขึ้น และสามารถทำให้ค่า PM Plan Compliance เฉลี่ยเท่ากับ 92.86% ซึ่งบรรลุตามตามเป้าหมายดัชนีชี้วัด (Key Performance Index, KPI) อย่างต่ำที่ตั้งไว้คือ 85%en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to improve the preventive maintenance (PM) process by investigating the basic operational process and applying the Total Productive Maintenance (TPM) theory and scheduling method to solve two main problems; the first problem was high variance time which took 444.6 hrs2 at the initiating process and 1,383.53 hrs2 at the job completion process, and the next problem was low percentage of unbalanced man-hour utilization which lower than 20%. From both problems, they resulted in 41.68% of the plan compliance. The study started with the application of plan do check and action according to the Deming theory to develop the operating procedures and eliminate the communication breakdown problems. The research resulted in 1) 35.75 hrs2 of variance time at the initiating process and 171.66 hrs2 at the job completion process, and 2) more balanced of 31.7% in man-hour utilization. The improved processes were carried out with 95.52% of the PM plan compliance which achieved target at least 85% from the Key Performance Index (KPI).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.881-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
dc.subjectการบำรุงรักษาเชิงทวีผลโดยรวม
dc.subjectMachinery -- Maintenance and repair
dc.subjectTotal productive maintenance
dc.subjectLabor time
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอุปกรณ์เครื่องจักรในโรงงานผลิตโอเลฟินส์en_US
dc.title.alternativeIMPROVEMENT PROCESS OF MACHINERY EQUIPMENT PREVENTIVE MAINTENANCE IN OLEFINS PRODUCTION PLANTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorParames.C@Chula.ac.th,cparames@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.881-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670918621.pdf6.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.