Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrakorn Siriprakoben_US
dc.contributor.authorNwe Ni Win Kyawen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Political Scienceen_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:30:58Z
dc.date.available2015-08-21T09:30:58Z
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44683
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractInfrastructure development is crucial to economic development of developing countries. Due to the financial, technical and management facilities are lacking, many countries have undertaken infrastructure development projects via smart partnerships with the international or private organizations. Such partnership where the private sector engages in public assets is called Public- Private Partnership (PPP). The new civilian government of Myanmar has embarked on a PPP policy to develop local infrastructure and encourage growth. In line with its PPP policy, this is the expansion project of Yangon International Airport (YIA), one of the major transport gateways in Myanmar. This research focused on the transparency and accountability of government regulations and procedures in PPP projects using the case-study of YIA. The objectives of research are to analyze the development of YIA and to estimate the project risks under the current PPP practices.The research used qualitative method to obtain data using document analysis as well as via interviews with relevant stakeholders such as technical experts from aviation units, government’s authority, airport users and shared private companies. The expansion for YIA is one the first projects using PPP policy in Myanmar. This PPP programme will be started before the end of 2014 for reconstruction, expansion, operations, management and maintenance work. There are the findings of negative points in YIA such as unclear tender selection, poor regulations and procedure delaying. But it has also good point that the policy is moving towards international practices .So, the research is able to determine that the current PPP policy is beneficial to YIA development but there weaknesses in terms of implementation of the regulations and procedures. It is hoped that this research can contribute important data on lessons learnt for future PPP projects especially in the airport infrastructure development field of Myanmar.en_US
dc.description.abstractalternativeการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา และเนื่องด้วยความขาดแคลนทั้งในด้านการเงิน ด้านเทคนิค รวมถึงด้านการบริหารจัดการ หลายประเทศจึงดำเนินงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานผ่านการสร้างพันธมิตรกับต่างประเทศหรือองค์กรเอกชน พันธมิตรในลักษณะดังกล่าวเรียกว่าความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน (Public- Private Partnership: PPP) รัฐบาลพลเรือนชุดใหม่ของเมียนมาร์ได้เริ่มดำเนินการตามแนวทางนี้เพื่อใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในท้องถิ่นและขับเคลื่อนการขยายตัวของเศรษฐกิจ โครงการขยายท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (Yangon International Airport: YIA) ซึ่งเป็นโครงสร้างด้านการขนส่งที่สำคัญของเมียนมาร์ ก็เป็นหนึ่งในโครงการที่ดำเนินการตามแนวนโยบายดังกล่าว งานวิจัยชิ้นนี้ให้ความสนใจกับความโปร่งใสและตรวจสอบได้ของกระบวนการทำงานภาครัฐต่อกรณีศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อวิเคราะห์การพัฒนาท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง และเพื่อประเมินความเสี่ยงของการดำเนินโครงการภายใต้นโยบายนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บข้อมูลร่วมกับการวิเคราะห์เอกสาร รวมถึงการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจากหน่วยการบิน หน่วยงานภาครัฐ ผู้ใช้สนามบิน และบริษัทผู้ร่วมทุน การขยายท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งเป็นหนึ่งในโครงการแรกๆที่ดำเนินการภายใต้นโยบายความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน โดยโครงการจะเริ่มดำเนินการก่อนสิ้นปี 2557 สำหรับงานซ่อมแซม งานขยายพื้นที่ งานดำเนินการ จัดการ และงานซ่อมบำรุง ข้อค้นพบในทางลบเกี่ยวกับการดำเนินงาน เช่น การสรรหาผู้ประมูลงานที่ไม่ชัดเจน การดำเนินงานไม่ตรงตามกรอบกฎระเบียบและล่าช้า แต่มีข้อดีในแง่ของการขยายความร่วมมือกับต่างประเทศ งานวิจัยชิ้นนี้สามารถชี้ได้ว่า แม้นโยบายความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชนจะช่วยก่อประโยชน์ต่อการพัฒนาท่าอากาศยานแห่งชาติย่างกุ้ง แต่มีจุดอ่อนในกระบวนการดำเนินงานตามแผนงานและกฎระเบียบที่วางไว้ เป็นที่คาดว่างานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นข้อมูลสำคัญเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับแนวทางความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน ในอนาคต โดยเฉพาะโครงการเกี่ยวกับการพัฒนาท่าอากาศยานในเมียนมาร์en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.118-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectInfrastructure (Economics) -- Burma
dc.subjectPublic-private sector cooperation -- Burma
dc.subjectโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ -- พม่า
dc.subjectความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชน -- พม่า
dc.titleINFRASTRUCTURE DEVELOPMENT BY USING PUBLIC - PRIVATE PARTNERSHIP (PPP) POLICY:A CASE STUDY OF YANGON INTERNATIONAL AIRPORT EXPANSION, MYANMARen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานโดยใช้นโยบายความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน: กรณีศึกษาการขยายท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง เมียนมาร์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineInternational Development Studiesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPrakorn.S@Chula.ac.th,popsiri@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.118-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5681211324.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.