Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์-
dc.contributor.authorวิชชา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2015-08-25T12:00:04Z-
dc.date.available2015-08-25T12:00:04Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44763-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตนักศึกษาวิชาเอกนันทนาการและวิชาเอกอื่นของสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตนักศึกษาระหว่างวิชาเอกนันทนาการกับวิชาเอกอื่น และระหว่างนิสิตนักศึกษาเพศชายกับนิสิตนักศึกษาเพศหญิง และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนิสิตนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็น นิสิตนักศึกษาวิชาเอกนันทนาการและวิชาเอกอื่นของสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 3 สถาบันได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ จำนวน 379 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ ของกรมสุขภาพจิต นำผลที่ได้มาแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า “ที” แบบกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน กำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นิสิตนักศึกษาวิชาเอกนันทนาการกับนิสิตนักศึกษาวิชาเอกอื่นของสถาบันอุดมศึกษากรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปรกติ 2. นิสิตนักศึกษา ระหว่างวิชาเอกนันทนาการกับวิชาเอกอื่น มีความฉลาดทางอารมณ์ รวมทุกองค์ประกอบ และทุกองค์ประกอบย่อย ไม่แตกต่างกัน และนิสิตนักศึกษาระหว่างเพศชายกับเพศหญิง มีความฉลาดทางอารมณ์ รวมทุกองค์ประกอบ ไม่แตกต่างกัน แต่ในองค์ประกอบย่อยด้านดี ข้อที่ 2 (เห็นใจผู้อื่น) และข้อที่ 3 (รับผิดชอบ) พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิตความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตนักศึกษาเพศหญิงสูงกว่าเพศชาย 3. ความฉลาดทางอารมณ์กับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนไม่สัมพันธ์กันen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to study emotional quotient of students majoring in recreation and another major subject of higher education institutions in Bangkok Metropolis and vicinity; to compare emotional quotient of students between males and females, and between major subjects; and to study the correlation of emotional quotient and academic achievement. Data were collected from 379 students in Chulalongkron University, Srinakharinwirot University, and Institute of Physical Education Bangkok Campus. The research instrument was Thai Emotional Intelligence Screening Test for ages 12 to 60 years, Department of Mental Health. Data were analyzed in terms of percentage, mean, standard deviation, t-test and Pearson Product Moment Correlation. In statistical significance testing, the level of .05 was set. The research findings were as follow: 1. Students majoring in Recreation and another major subject of higher education institutions in Bangkok Metropolis and vicinity had emotional quotient at normal level. 2. The emotional quotient of students between Recreation major subject and another major subject was not different, and between male and female, in three main structures, was not different, but in the Virtue substructure, Item 2 (Sympathy) and Item 3 (Responsibility) were statistical significant difference at the level of .05. The emotional quotient arithmetic means of females were higher than males. 3. There was no relation between emotional quotient and academic achievement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1617-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectนักศึกษา -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectนักศึกษา -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectนักศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectนักศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectEmotional intelligenceen_US
dc.subjectCollege students -- Psychologyen_US
dc.subjectCollege students -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectCollege students -- Thailand -- Bangkok -- Psychologyen_US
dc.subjectCollege students -- Thailand -- Bangkok -- Psychological aspectsen_US
dc.titleการศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตนักศึกษาวิชาเอกนันทนาการและวิชาเอกอื่นสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeA study of emotional quotient of students majoring in recreation and another major subject of higher education institutions in Bangkok Metropolis and vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrapat.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1617-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
witcha_ut.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.