Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorพงษ์สวัสดิ์ เอี่ยมสำอางค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-31T09:58:27Z-
dc.date.available2015-08-31T09:58:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44837-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการจัดการคลังสินค้าสำเร็จรูปในโรงงานผลิต ปริงที่ใช้ในชิ้นส่วนยานยนต์โดยมุ่งเน้นการลดความสูญเปล่าที่เกิดจากขั้นตอน การทำงานในคลังสินค้าและการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงาน โดยสภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่าหน่วยงานคลังสินค้ามีค่าใช้จ่ายทางด้านค่าแรงเกินจากที่ฝ่ายบริหารตั้งงบประมาณไว้เนื่องจากปัญหาขั้นตอนการทำงานที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในส่วนของการปรับปรุงการจัดการคลังสินค้าเริ่มตั้งแต่การสำรวจสภาพปัจจุบันและนำมาวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานด้วยการศึกษาวิธีการทำงานกับหลักการ ECRS (Eliminate-Combine-Rearrange-Simplify) จากนั้นจึงได้ดำเนินการปรับปรุงการและแก้ไขปัญหาการขนส่งขนย้ายในคลังสินค้ามากเกินไป โดยการแบ่งกลุ่มสินค้าแบบ ABC โดยสินค้าที่เคลื่อนไหวเร็วควรอยู่ใกล้กับประตูทางออก และดำเนินการปรับปรุงขั้นตอนการทำงานในคลังสินค้าเพื่อลดความสูญเปล่าโดยมีการสร้างรถ AGVs (Automatic Guided Vehicle System) มาใช้ในการขนส่งขนย้ายในโรงงานแทนการขนส่งขนย้ายโดยพนักงานและการนำเอาระบบERP ร่วมกับแถบรหัสสินค้า (Barcode) มาใช้เพื่อลดขั้นตอน การทำงานและเพิ่มความถูกต้องในการทำงานในคลังสินค้า จากการดำเนินการปรับปรุงออกแบบและจัดการคลังสินค้าพบว่าสามารถลดระยะทางในการเคลื่อนย้ายสินค้าจากเดิม28,376 เมตรต่อวันเป็น14,603 เมตรต่อวันหรือลดลง 49% และสามารถลดระยะเวลาการทำงานในคลังสินค้าจากเดิม2,457 นาทีต่อวันเป็น633 นาทีต่อวัน หรือลดลง 74% และผลจากการปรับปรุงทำให้สามารถลดจำนวนพนักงานที่ทำหน้าที่ขนย้ายได้2 คนจากเดิม 51 คนเหลือ49 คนหรือลดลง4% หรือลดค่าแรงได้ 326,256 บาทต่อปีen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to improve of finished goods warehouse in an automobile spring industry by focusing to reduceand improve the performance waste of working processes in warehouse. At present, warehouse unit has a problem of labor cost exceed the targeted budget. The analysis found that there was delivery mistakes and a lot of waste of moving finished goods in warehouse. The research was carried out by using the ECRS technique to improve the inventory and use the ABC Classification. By using the frequency of inbound and outbound operation, the fast moving inventory was designed to be near the outbound dock. Additionally, AGVs was used to transported transfer products instead of human. ERP with barcode system was adopted to reduce working process and increase correctness in warehouse work. The warehouse management by improving the system found thatthe moving distance decreases from 28,376 meters per day to 14,603 meters per day, or decreases 49%, and the working time of warehouse reduces from 2,457 minutes per day to 633 minutes per day or decreases 74%. Finally, the results of improvement can reduce the number of two transported employees from 51 people to 49 people, or decreases 4% or reduce labor cost 326,256 baht per year.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1647-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen_US
dc.subjectคลังสินค้าen_US
dc.subjectWarehouses -- Managementen_US
dc.subjectWarehousesen_US
dc.titleการปรับปรุงการจัดการคลังสินค้าสำเร็จรูปในโรงงานผลิตสปริงรถยนต์en_US
dc.title.alternativeImprovement of finished goods warehouse management in an automobile spring manufacturing planten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornatcha.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1647-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pongsawat_ai.pdf8.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.