Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรศิริ หมื่นไชยศรี-
dc.contributor.authorสุทธิรักษ์ แสงจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-01T09:39:49Z-
dc.date.available2015-09-01T09:39:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44855-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractระบบค้นหาโดยส่วนใหญ่ดำเนินการโดยทำการจับคู่ระหว่างคำค้นและข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล โดยตรวจสอบจากตัวอักษรและความหมายว่าเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้ทำให้ระบบสามารถค้นหาได้เพียงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ทางภาษาได้เท่านั้น แต่จะไม่สามารถค้นหาข้อมูลในกรณีที่คำค้นและข้อมูลไม่มีความสัมพันธ์กันทางภาษาแต่มีความสัมพันธ์กันในองค์ความรู้อื่นได้ ซึ่งวิธีการที่จะทำให้ระบบจะสามารถค้นหาข้อมูลในลักษณะดังกล่าวได้นั้น จะต้องอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมมาช่วยในอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นและข้อมูลสำหรับการค้นหา วิทยานิพนธ์นี้จึงขอนำเสนอวิธีการพัฒนาระบบค้นหาเชิงความหมายด้วยวิธีการอ็อบเจกต์ออนโทโลยีแมปปิงหรือโอโอเอ็ม ซึ่งมีองค์ประกอบสำหรับแก้ไขปัญหาในการนำออนโทโลยีมาใช้ในการพัฒนาระบบค้นหาเชิงความหมายและสอดคล้องแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ นอกจากนั้นแล้วผู้วิจัยได้นำวิธีการโอโอเอ็มไปพัฒนาเป็นระบบค้นหาข้อมูลสิ่งมีชีวิตประเภทสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกของประเทศไทย (ไทส์) ที่สามารถค้นหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตได้ทั้งจากชื่อทางวิทยาศาสตร์หรือชื่อสามัญ สามารถจัดกลุ่มความสัมพันธ์ทางด้านชีววิทยาของสิ่งมีชีวิต รวมถึงเพิ่ม ปรับปรุง แก้ไขข้อมูล ของออนโทโลยีที่ใช้ในระบบค้นหาเพื่อรองรับการนำองค์ความรู้ในการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตใหม่ๆ มาร่วมใช้ในการค้นหาในอนาคต ในส่วนของการประเมินผล ผู้วิจัยได้ทำการประเมินผลวิธีการโอโอเอ็มใน 2 ด้าน คือ ทางด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพ โดยด้านประสิทธิผลพบว่า วิธีการโอโอเอ็มสามารถให้ผลการค้นคืนได้อย่างถูกต้องและในส่วนของประสิทธิภาพจะพบว่าวิธีการโอโอเอ็มจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเมื่อนำไปพัฒนาร่วมกับองค์ประกอบอื่นในการพัฒนาซอฟต์แวร์ เช่น การเก็บข้อมูลถูกประมวลผลด้วยวิธีการโอโอเอ็มเรียบร้อยแล้วไว้ในแคชของระบบ เพื่อเพิ่มความเร็วในการเรียกใช้ ข้อมูลในครั้งต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe algorithm of most searching systems simply matches between input search queries and a collection of data in the databases by comparing text similarity. Nowadays, new knowledge has been continuously and immensely established. Therefore, definition and relationship of vocabularies vary in each field of knowledge. As a result, the searching algorithm using only text similarity comparison cannot find other relevant information of the searching word. This research introduces a method to develop a searching system capable of matching the searching word and its related definitions by applying Object-Ontology Mapping (OOM) approach. Researcher applies OOM to develop the system called Thailand Amphibian Information System (TAIS). TAIS assists users to effectively search all the Amphibians found in Thailand. The system searching can be done by either specifying scientific or common names of any Amphibian. The results from TAIS significantly show the relationship between creatures in the group and Biology classification. In addition, the ontology used along with database searching can be either added or modified in order to support new knowledge of Biology classification in the future. In the evaluation, researcher evaluates effectiveness and efficiency of the OOM approach. The effectiveness evaluation shows that OOM approach has the correct result and effectiveness will increase by using the other software components such as cache.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1656-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอรรถศาสตร์en_US
dc.subjectการโปรแกรมเชิงวัตถุen_US
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศen_US
dc.subjectSemanticsen_US
dc.subjectSemantic computingen_US
dc.subjectObject-oriented programming (Computer science)en_US
dc.subjectInformation storage and retrieval systemsen_US
dc.titleการพัฒนาระบบสืบค้นเชิงความหมายด้วยวิธีอ็อบเจกต์ออนโทโลยีแมปปิงen_US
dc.title.alternativeDevelopment of semantic search using object-ontology mappingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPornsiri.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1656-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sutthirak_sa.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.