Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45139
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรยุทธ์ สินธุพันธุ์-
dc.contributor.authorจตุพร สุวรรณสุขุม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-10T07:38:32Z-
dc.date.available2015-09-10T07:38:32Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45139-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการทดลองเปลี่ยนช่องทางการสื่อสารจากรูปแบบเดิมๆสู่สื่อที่เป็นละครเพลง เพื่อลดการสร้างทัศนคติเชิงลบแก่ผู้เรียนวิชาสถิติ โดยช่องทางการสอนแบบใหม่นี้จะสามารถลดอคติที่มีต่อวิชาสถิติและสามารถทำให้ผู้เรียนสามารถเปิดใจรับความรู้ที่แฝงมากับความสนุกสนานของละคร โดยวัตถุประสงค์ข้อแรกคือเพื่อเข้าใจกระบวนการผลิตละครเวทีแบบมิวสิคัล สำหรับใช้เป็นช่องทางในการสื่อสารโดยวัตถุประสงข้อนี้ผู้วิจัยได้ลงมือสร้างละครเพลง Normal Curve, I love You ขึ้นมาเพื่อที่จะทราบกระบวนการทำงาน โดยแยกตามลำดับการสร้างงานดังนี้คือ ขั้นก่อนการแสดงตั้งแต่การคิดขอบเขตของเนื้อหาทางสถิติ การประยุกต์เนื้อหาดังกล่าวมาเป็นตัวบท และการเปลี่ยนแปลงตัวบทไปสู่เพลง และเพลงที่แต่งขึ้นสามารถสื่อสารให้เกิดการเรียนรู้จดจำ และเปลี่ยนทัศนคติต่อวิชาสถิติได้มากน้อยเพียงไรโดยผู้วิจัยได้พรรณนากระบวนการต่างๆที่ทำให้เกิดเป็นละครเวทีขึ้นมา สำหรับวัตถุประสงค์อีกสองข้อคือเพื่อวัดผลความเปลี่ยนแปลงของทัศนคติที่มีต่อวิชาสถิติหลังจากการเปลี่ยนช่องทางในการสื่อสารเป็นรูปแบบมิวสิคัลและเพื่อวัดผลประสิทธิภาพในการเพิ่มความเข้าใจค่าพื้นฐานต่างๆทางสถิติที่เกิดจากการสื่อสารจากช่องทางการใช้สื่อการสอนในรูปแบบละครมิวสิคัล หลังจากแสดงทั้งหมด 5 รอบการแสดง ผู้วิจัยได้คำนวณหาค่าเฉลี่ยของทัศนคติทั้งก่อนและหลังชมละครเพื่อหาการเปลี่ยนแปลงไปของค่าทัศนคติที่เกิดขึ้น โดยเมื่อนำค่าเฉลี่ยทั้งสองส่วนมาเปรียบเทียบดูจะเห็นว่า ค่าเฉลี่ยทัศนคติหลังชมการแสดงเพิ่มขึ้นอย่างมีระดับนัยสำคัญที่ 0.05โดยค่าที่วัดก่อนการแสดงคือ 20.244แต่เมื่อวัดค่าหลังการแสดง ค่าเฉลี่ยกลับเพิ่มขึ้นเป็น 26.640และในส่วนของความเข้าใจ ผู้วิจัยได้ประมวลผลก่อนและหลังการแสดง และได้ค่า T-test มีค่า -21.688ค่าSigมีค่า.000 ดังนั้น จึงสามารถสรุปได้ว่าละครเพลง สามารถเพิ่มประสิทธิภาพความเข้าใจค่าสถิติพื้นฐาน ทำให้ผู้ชมมีความเข้าใจเนื้อหามากขึ้นที่ ระดับ นัยสำคัญ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is a study of the communication channel. Experimentally, I apply the musical-play approach instead of the traditional lecture so as to reduce some negative attitudes toward statistics. I, the researcher, hope that creating a new teaching model will make the learners simply enjoy the musical and statistics contents, simultaneously. First of all, the objective of this research is to understand the process of a stage musical which is a channel of communication. I had to determine the scope of statistics. when I had got all necessary contents, I lyricized them together with melodizing part. Significantly, all music and lyrics are so catchy that it is very easy to learn and memorize. Hopefully, the learners will change their attitudes toward statistics to be very positive. For the two other objectives, first is to measure the changes of attitudes toward statistics after applying the musical approach to the channels of communication, and the last is to measure the efficiency of the increasing understanding of the basic statistics of the communication channel in the form of musical theater. After all five performances, I calculated for the averages of attitudes, both before and after the performance, to look at the changes of attitudes. By comparing the two averages with each other, the attitude mean of statistics after the show has increased significantly at the 0.05 level. Interestingly, the measured value before the show was 20.244 and the average was up to 26.640 after the performances have all done. Furthermore, the understanding of the statistics contents which I evaluated before and after the performances had the T-test at -21.688. Therefore, the musical play could possibly add the effectiveness on learning the fundamental statistics resulting in the 0.05-significant level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถิติ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en_US
dc.subjectภาพยนตร์เพื่อการศึกษาen_US
dc.subjectStatistics -- Study and teaching (Higher)en_US
dc.subjectMotion pictures in educationen_US
dc.titleกระบวนการสร้างสรรค์ละครเพลง เพื่อสื่อสารความรู้เรื่องสถิติen_US
dc.title.alternativeCreative process of a musical theatre to communicate statistical knowledgeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorJirayudh.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jatuporn_su.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.