Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorส่องแสง ธรรมศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-27T03:39:29Z-
dc.date.available2007-10-27T03:39:29Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743346635-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพบริการพยาบาลด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการก่อนและหลังการจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้ เปรียบเทียบคุณภาพบริการพยาบาล ด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระหว่างกลุ่มที่มีการจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้และกลุ่มที่มีการจัดการ ดูแลแบบปฏิบัติงานตามหน้าที่ และเปรียบเทียบคุณภาพบริการพยาบาลด้านความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ใช้บริการ ระหว่างกลุ่มที่มีการจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้และกลุ่มที่มีการจัดการดูแลแบบปฏิบัติงานตามหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วย/ผู้พิการจำนวน 40 คนจัดเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่มทดลองมีการใช้การจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้ และกลุ่มควบคุมมีการจัดการแบบปฏิบัติงานตามหน้าที่ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือสำหรับพยาบาลในระบบเจ้าของไข้ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบการพยาบาลเจ้าของไข้ และการสัมภาษณ์แนวลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการพยาบาล ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและการหาความเที่ยงภายในแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยที่สำคัญ คือ 1. คุณภาพบริการพยาบาลด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ หลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คุณภาพบริการพยาบาลด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คุณภาพบริการพยาบาลด้านความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ใช้บริการในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามความสามารถในการทำกิจกรรมเรื่องกิจวัตรประจำวันของผู้ใช้บริการ ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to compare the quality of nursing service regarding patient satisfaction before and after using primary nursing management, to compare such variable in the group using primary nursing management and the group using functional management, ang to compare the quality of nursing service regarding the functional ability of patients between those two groups. Research subjects consisted of 40 clients in the Sirindhorn National Medical Rehabilitation Centre which were assigned into one experimental group and one control group. The experimental group implemented the primary nursing management while the control group using the functional management. A research instrument used in the experiment, was the primary nursing management manual which was developed by the researcher utilizing the content derived from the theoretical framework and from the transcription of the indepth interview of experts. Research data were gathered by two research tools which were a questionnaire of patient satisfaction and a Functional Independence Measure. Both tools were developed by the researcher and tested for content validity and internal reliability. Statistical techniques used in data analysis were mean, standard deviation and t-test. Major results of the study were as followed:-1. The quality of nursing service regarding patient satisfaction after the experiment was significantly higher than before the experiment, at the .05 level. 2. After the experiment, the quality of nursing service regarding the satisfaction of patients in the experimental group was significantly higher than that of the patients in the control group, at the .05 level. 3. After the experiment, there was no significant difference between the quality of nursing service regarding the functional ability of patients in the experimental group and in the control group. However, functional ability in the aspect of the activity of daily living of patients in the experimental group was significantly higher than that of patients in the control group, at the .05 levelen
dc.format.extent6644206 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาล -- บริการen
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วยen
dc.subjectผู้ป่วย -- การดูแลen
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการen
dc.titleผลของการจัดการดูแลแบบพยาบาลเจ้าของไข้ต่อคุณภาพบริการพยาบาล : กรณีศึกษาในศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติen
dc.title.alternativeThe effect of primary nursing management on nursing service quality : a case study in sirindhorn national medical rehabilitation centreen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
songsang.pdf6.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.